Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แพทย์แนะวิธีใช้ 'น้ำมันกัญชา' ให้ปลอดภัย  

ปัจจุบันผู้ป่วยเริ่มหันมาใช้น้ำมันกัญชากันมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ป่วยรายใหม่ที่เริ่มหันมาสนใจการรักษาด้วยวิธีการนี้ ในขณะที่การผลิตน้ำมันกัญชาในบ้านเรานั้นมีหลายสูตรแล้วแต่สูตรใครสูตรมัน จึงมีคำถามตามมาว่าเราใช้น้ำมันกัญชาเพื่อรักษาโรคกันอย่างไร ใช้แบบไหน แต่ละสูตร แต่ละคนใช้เท่ากันหรือไม่ เราไปหาคำตอบได้จากรายงาน คุณชุตินันท์ เพชรากานต์ หลังจากที่กระแสกัญชารักษาโรคเริ่มขยายวงกว้างออกไปสู่ผู้ป่วยมากขึ้น จนเกิดแรงกระเพื่อมเรียกร้องให้มีการปลดล็อคกัญชาเสรี และขณะเดียวกันชุดข้อมูลที่ระบุว่าน้ำมันกัญชาสามารถรักษาโรคร้ายต่างๆได้ ถูกเผยแพร่ออกไปสู่สังคมพร้อมๆกัน จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าน้ำมันกัญชาเป็นความหวังและแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ของผู้ป่วยโรคร้ายเหล่านี้ ทว่าน้ำมันกัญชาที่ถูกผลิตออกมาขวดแล้วขวดเล่า ต่างคนต่างคิดสูตรของตัวเองขึ้นมา บ้างก็ว่าดีบ้างก็ว่าแน่ ใช้เพียงหยดสองหยดช่วยรักษาให้หายหรือช่วยบรรเทาจากโรคร้ายได้ แต่ก็ทำให้เกิดคำถามตามมาว่าแล้ววิธีการใช้น้ำมันกัญชาที่ถูกต้องโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ป่วยมีวิธีการอย่างไร ทั้งเรื่องปริมาณหรือขนาดต้องใช้เท่าไรถึงจะเหมาะกับผู้ป่วยแต่ละคน ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา อธิบายว่า น้ำมันกัญชาที่ประชาชนใช้กันอยู่ทุกวันนี้ คือเป็นการสกัดเองตามบ้าน ทำให้มีลักษณะความเข้มข้นแตกต่างกัน และอีกหนึ่งปัญหาก็คือ การบีบซึ่งแต่ละคนบีบน้ำมัน 1 หยดในปริมาณที่ไม่เท่ากัน ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยกรณีผู้ป่วยที่ไม่เคยใช้น้ำมันกัญชามาก่อน ควรเริ่มใช้ในปริมาณน้อยที่สุด คือ ใช้ไม้จิ้มฟันจุ่มลงไปในน้ำมันกัญชาแล้วมาแตะที่ซอกฟัน ก็เปรียบเสมือนเราหยอดไปครึ่งหยด แต่ต้องเริ่มหยอดในช่วงเวลาก่อนนอน เพราะน้ำมันกัญชาจะไม่ออกฤอธิ์ทันที แต่จะออกฤทธิ์หลังจากการหยอดประมาณ1-3 ชั่วโมง ขณะที่ หัวหน้าสำนักงานจัดการกัญชาและกระท่อม ของกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก บอกว่า การที่ประชาชนบางส่วนมีความต้องการใช้สารสกัด หรือ น้ำมันกัญชา และดำเนินการสกัดเองต้องระวัง เพราะอาจได้รับอันตรายได้ โดยการสกัดน้ำมันกัญชา มีด้วยกัน 28 กรรมวิธี ตามหลักแพทย์แผนไทย ไม่ว่าจะเป็นสกัดแบบน้ำโดยการต้ม การบีบคั้น การใช้ร่วมกับแอลกอฮอล์ หรือการดอง เหมือนกับยาดองเหล้า อีกทั้งหากใช้กระบวนการทางเภสัชวิทยาก็มีอีกหลายวิธี และได้สารสำคัญตามความต้องการ เช่นการปรุงยาสนั่นไตรภพ ที่เป็น 1 ใน 4 ของตำรายาสมุนไพรที่มีส่วนผสมของกัญชา ช่วยลดอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ มะเร็งมดลูก มะเร็งตับระยะเริ่มต้น และช่วยแก้กษัยเหล็ก หรืออาการท้องแข็งซึ่งส่วนหนึ่งก็คือโรคมะเร็งนั่นเอง ปฎิเสธไม่ได้ว่า การใช้น้ำมันกัญชาทางแพทย์มีทั้งคุณและโทษซึ่งประชาชนที่ต้องการจะใช้น้ำมันกัญชาทางการแพทย์ก็ต้องใช้ให้ถูกวิธี เริ่มใช้ตั้งแต่ปริมาณที่น้อยๆก่อน เพื่อรอสังเกตอาการของตนเองว่ามีการตอบสนองเป็นอย่างไร เพื่อที่จะได้ใช้น้ำมันกัญชาให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเอง Bangkokbixznes 13.05.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร