Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ทีมนักวิจัยพัฒนาขาหุ่นยนต์ เลียนแบบการทำงานของกล้ามเนื้อมนุษย์   

ขณะที่หุ่นยนต์ชนิดอื่นๆ ถูกตั้งโปรแกรมให้ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ ขาหุ่นยนต์ที่ทีมงานของมหาวิทยาลัยเเห่ง Southern California พัฒนาขึ้นนี้ทำงานแตกต่างออกไป ศาสตราจารย์ฟรานซิสโก วัลเลอโร คูเอวาส อาจารย์ด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ แห่งมหาวิทยาลัย USC กล่าวว่า ขาหุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นนี้เเตกต่างไปจากหุ่นยนต์ทั่วไปตรงที่ไม่ได้ถูกโปรแกรมให้ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ ระบบการคิดคำนวณที่ใช้กับขาหุ่นยนต์ได้เเรงบันดาลใจจากระบบการเคลื่อนไหวเเละควบคุมกล้ามเนื้อของสิ่งมีชีวิต ขาหุ่นยนต์นี้มีเอ็นกล้ามเนื้อที่เหมือนกับเอ็นกล้ามเนื้อของสัตว์ ควบคุมโดยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ เอไอ ทำให้ขาหุ่นยนต์หัดเดินได้ภายใน 5 นาทีของช่วงเวลา "free play" ขาหุ่นยนต์ยังสามารถเรียนรู้การเคลื่อนไหวเเบบอื่นๆ ได้โดยไม่โปรแกรมคำสั่งเพิ่มเติม อาลี มาร์เจนนันจาด นักศึกษาปริญญาเอกด้าน Biomedical Engineering ที่มหาวิทยาลัย USC บอกว่า ขาหุ่นยนต์ทำงานเหมือนทารกที่พยายามดึงกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ เเละเรียนรู้ว่าจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างไรบ้าง เเละเรียนรู้ในการควบคุมกล้ามเนื้อเหล่านั้น หุ่นยนต์ที่ใช้ระบบการคิดคำนวณนี้สามารถรับการฝึกเหมือนกับการฝึกสุนัข โดยใช้เซ็นเซอร์เป็นตัวช่วย ศาสตราจารย์ วัลเลโร คูเอวาส บอกว่า เมื่อขาหุ่นยนต์ผลักสาย the belt ไปข้างหลัง การหมุนที่ทำมุมต่างๆ จะส่งสัญญาณเป็นตัวเลขไปที่ระบบการคิดคำนวณที่ที่จะสื่อว่า ชอบ หรือ ถูกใจ แต่หากหุ่นยนต์เคลื่อนไปในทางตรงกันข้าม ระบบการคิดคำนวณที่ก็จะสื่อว่า ไม่ถูกใจ ดาริโอ เออบีน่า เมลเลนเดส นักศึกษาปริญญาเอกด้าน Biomedical Engineering ที่มหาวิทยาลัย USC บอกว่า ทีมงานออกแบบขาหุ่นยนต์ก่อนที่จะพิมพ์ขาหุ่นยนต์ออกมาด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ การใช้งานอย่างหนึ่งที่เป็นไปได้ในอนาคตอันใกล้คือการช่วยเหลือคนที่มีความพิการทางกาย ศาสตราจารย์ วัลเลโร คูเอวาส กล่าวว่า ขาหุ่นยนต์อาจจะเลียนเเบบความสามารถของผู้ใช้ หรืออาจเป็นตัวช่วยหากผู้ใช้ไม่มีเรี่ยวเเรงหรืออ่อนเเอเกินไป ความเป็นไปได้อีกอย่างหนึ่งคือการใช้งานในอนาคตเพื่อช่วยเหลือในพื้นที่วิกฤติ โดยขาหุ่นยนต์สามารถปรับตัวเข้ากับพื้นที่ที่มีความลาดชันระดับต่างๆ ได้ เเละทีมนักวิจัยชี้ว่า พวกเขาคาดการณ์ว่าขาหุ่นยนต์เรียนรู้ด้วยตัวเอง จะเข้าไปมีบทบาทในงานด้านการสำรวจอวกาศในอนาคต พวกเขาบอกว่าหุ่นยนต์ที่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมนี้ อาจจะพัฒนาออกมาใช้งานจริงๆ ภายในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า Voice of America 13.05.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร