Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อุปกรณ์ใหม่ตรวจหาแบคทีเรียเร็วระดับนาที ลดโอกาสใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ  

นักวิจัยพัฒนาอุปกรณ์ตัวใหม่ที่จะช่วยลดการใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรือ สามารถตรวจหาแบคทีเรียได้รวดเร็วในระดับนาที จากเดิมใช้เวลานานหลายวัน ช่วยให้แพทย์ตัดสินใจได้แม่นยำขึ้น อุปกรณ์ดังกล่าวพัฒนาโดยทีมจากมหาวิทยาลัยแพนน์สเตท (Penn State university) ซึ่งได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารวิยาศาสตร์โพรซีดิง ออฟ เดอะ เนชันนัล อะคาเดมี ออฟไซนส์ (Proceeding of the National Academy of Sciences) ปัก คิน หว่อง (Pak Kin Wong) ศาสตราจารย์ทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ และวิศวกรรมเครื่องกล ผู้ร่วมพัฒนาอุปกรณ์ตรวจหาแบคทีเรียนี้ อธิบายว่า อุปกรณ์ตรวจหาแบคทีเรียนี้ จะดักจับเซลล์แบคทีเรีย แล้วนำไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน วิธีดังกล่าวจะช่วยให้แพทย์วินิจฉัยได้ภายใน 30 นาทีเป็นอย่างน้อย ว่า(ผู้ป่วย)ติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวต่อการรักษาด้วยยาหรือไม่ ซึ่งต่างจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการในปัจจุบัน ที่ต้องใช้เวลา 3-5 วันเพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรียเช่นเดียวกัน หว่องบอกเอเอฟพีว่า ทุกวันนี้เรารักษาด้วยยาปฏิชีวนะแม้กระทั่งไม่ปรากฏการติดเชื้อแบคทีเรีย นั่นทำให้เราได้รับยาเกินขนาด และนั่นเป็นหนึ่งในหลายๆ สิ่งที่ทีมวิจัยต้องการจะสื่อ อีกทั้งยังมีคำถามที่นำมาสู่งานวิจัยนี้ว่า เราจะตรวจหาการติดเชื้อแบคทีเรียได้อย่างรวดเร็วหรือไม่ รายงานทางวิชาการของทีมวิจัยยังระบุด้วยว่า มากกว่าการตรวจหาว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไม่ อุปกรณ์ดังกล่าวยังสามารถจำแนกชนิดของแบคทีเรีย ได้จากรูปร่างของแบคทีเรียเอง ด้วยการตรวจว่าแบคทีเรียดังกล่าวเป็นทรงกลม รูปแท่งหรือเป็นเกลียว หว่องบอกว่าอุปกรณ์นี้จะช่วยตรวจหาแบคทีเรียที่ติดเชื้อในร่างกาย แต่ไม่สามารถระบุชนิดของแบคทีเรียได้ ซึ่งทีมวิจัยกำลังทำงานเพื่อตอบโจทย์ดังกล่าว และจะระบุสปีชีส์ของแบคทีเรียได้ หลังจากตรวจพบว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียแล้ว ตัวอย่างแบคทีเรยดังกล่าวยังจะถูกนำไปทดสอบกับยาปฏิชีวนะ เพื่อตรวจสอบว่าแบคทีเรียดังกล่าว “ดื้อยา” หรือไม่ ซึ่งเป็นกรณีที่ใช้ยาปฏิชีวนะไม่ได้ผล การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียที่พบได้ทั่วไปมากที่สุด แม้ว่ากว่า 75% ของตัวอย่างปัสสาวะที่ส่งไปตรวจที่ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาระดับคลีนิคนั้นให้ผลเป็นลบ (negative) โดยหว่องระบุว่า การตรวจว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียหรือไม่ได้อย่างรวดเร็วนั้น จะส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมหาศาล ทั้งนี้ ทีมวิจัยกำลังยื่นจดสิทธิบัตร และตั้งเป้าพัฒนาเป็นอุปกรณ์ที่พร้อมลงสู่ตลาดภายใน 3 ปี พร้อมเป้าหมายที่จะลดขนาดของอุปกรณ์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้ที่โรงพยาบาลและห้องตรวจของแพทย์ Manager online 8 พ.ค.62

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร