Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

หลอดพลาสติกล้นโลก แก้ยาก!! ถ้ากม.ไม่บังคับ พ่อค้า-แม่ค้า คงจะตระหนักรักษ์โลกยากนัก  

ปัญหาขยะหลอดพลาสติกซึ่งเป็นปัญหาระดับโลก เพราะเป็นขยะพลาสติกอันดับต้นๆ ทั้งบนบกและตกลงสู่ทะเล เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เนื่องจากส่วนใหญ่ของหลอดพลาสติกไม่ถูกนำมารีไซเคิล! ถึงแม้มีการรณรงค์ให้เปลี่ยนไปใช้เป็นหลอดกระดาษ หรือหลอดที่นำมาจากธรรมชาติซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หลายคนคงจำข่าวที่น่าสลดใจได้ เมื่อหลอดพลาสติกไปติดอยู่ในจมูกเต่า ทำให้เขาดูทรมานมาก เจ้าหน้าที่ต้องใช้เครื่องมือเพื่อดึงเอาออกมา แล้วที่ไม่ได้พบสภาพนี้ล่ะ น่าจะยังมีอีก นักสิ่งแวดล้อมเห็นสภาพแล้วก็ขอร้องให้ช่วยกันเลิกใช้เหอะ หลอดพลาสติก พอกันที! เมื่อหันมองสถานการณ์ในบ้านเรา…การรณรงค์ให้เลิกใช้หลอดพลาสติกโดยสมัครใจเริ่มก่อตัวชัดขึ้นในช่วงราว 1-2 ปีที่ผ่านมา ที่น่าสนใจ กลุ่ม ReReef กับเครือข่ายร้านกาแฟและร้านอาหารหัวใจสีเขียว (Green Cafe Network) ริเริ่มขบวนการงดหลอด Straws on Request โดยร้านที่เข้าร่วมขบวนการต้องเปลี่ยนจากเสิร์ฟเครื่องดื่มพร้อมหลอดแบบเดิมๆ มาเป็นแจกหลอดแก่ลูกค้าที่แจ้งความต้องการเท่านั้น อีกกลุ่ม greenery.org ที่ชักชวนใครๆ มามอบของขวัญให้โลกตั้งแต่ต้นปี โดยกำหนดภารกิจท้าทายเดือนละ 1 ภารกิจ ให้ผู้สนใจร่วมลงมือทำและแบ่งปันเรื่องราวผ่านกลุ่ม Greenery Challenge ในเฟซบุ๊ก เริ่มเดือนมกราคม รับปีใหม่ด้วย ‘ขวดเดียวแก้วเดิม’ ซึ่งแม้จะเน้นที่การพกกระติกหรือแก้วน้ำส่วนตัวเพื่อลดขยะขวดน้ำพลาสติกและแก้วพลาสติกจากการซื้อเครื่องดื่มในแต่ละวัน ยังต้องแถมพ่วง #ไม่หลอดเนาะ เข้าไปด้วยเพื่อลดขยะหลอดพลาสติกได้อีกชิ้น พร้อมกับเสนอสารพัดหลอดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้เป็นทางเลือก อย่างไรก็ตาม เป็นที่คาดไว้อยู่แล้วว่ามาตรการบังคับคงเกิดขึ้นได้เร็วๆ นั้นยากนัก เพราะประเทศไทยเลือกแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยแนวทางประนีประนอมมาตลอด การรอคอยให้รัฐออกกฎหมายแล้วประชาชนค่อยขยับปฏิบัติตาม จึงดูไม่เข้าท่านักกับวิกฤตขยะพลาสติกขณะนี้ ทั้งจากผลสำรวจโดยทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยจอร์เจียที่ระบุว่า ประเทศไทยทิ้งขยะลงทะเลมากเป็นอันดับ 5 ของโลก และจากผลการศึกษาของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) ซึ่งรายงานการจำแนกขยะในทะเลว่า พบหลอดพลาสติกมากเป็นอันดับ 2 รองจากถุงพลาสติก (ร้อยละ 10) นอกจากเป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเลโดยตรงแล้ว พลาสติกที่ลอยเท้งเต้งในน้ำเค็มนานๆ ยังสลายตัวเป็น ‘ไมโครพลาสติก’ หรือเศษพลาสติกขนาดจิ๋วเกินกว่าสายตาเราจะมองเห็น จากนั้นก็เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารผ่านทางแพลงค์ตอน กุ้ง ปลา ตามลำดับขั้นการกิน คำเตือนอันตรายต่อมนุษย์มากขนาดนี้ แต่คนเราก็ยังลด เลิกใช้หลอดพลาสติกไม่ได้ ในเรื่องนี้ในทางกฎหมายก็คงคล้ายกับการบังคับสวมหมวกกันน็อกในการขับขี่มอเตอร์ไซค์ กม.มีบังคับ แต่ตำรวจไม่จับ คนจำนวนไม่น้อยก็ยังเลือกเอาความสบายหัวมาก่อนหัวน็อกพื้น กับอีกสาเหตุสำคัญ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้หลอดพลาสติก ด้วยความเคยชินติดหลอด โดยเฉพาะหลอดกระดาษที่พัฒนามาเป็นทางเลือกที่ใกล้เคียงกับหลอดพลาสติก แต่ทุกวันนี้ยังมีใช้กันน้อยเนื่องจากราคาที่แพงกว่าถึง 4 เท่าตัว แต่ยังเชื่อว่าจะเป็นตัวตายตัวแทนหลอดพลาสติกในอนาคตอันใกล้นี้ Manager online 14.05.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร