Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

กินเนื้อให้น้อยลง! ช่วยอนุรักษ์โลก ลดก๊าซเรือนกระจก  

ภายในปี 2050 จำนวนประชากรโลกจะแตะ 9 พันล้านคน ผลที่ตามมาคือ ความต้องการในการบริโภคจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า! แล้วการ “เลือก” บริโภคของมนุษย์เกี่ยวข้องอย่างไรกับการอนุรักษ์โลก? รู้หรือไม่ว่า นอกจากลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว หรือลดการใช้พลังงานแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ทุกคนสามารถทำได้เพื่อโลกของเราคือการ “กินเนื้อให้น้อยลง” เนื่องจากกระบวนการผลิตเนื้อสัตว์ ไปจนถึงการบริโภคต่างส่งผลกระทบต่อโลกเรามากมาย ประเด็นแรกคือ ฟาร์มปศุสัตว์จำเป็นต้องใช้น้ำจำนวนมาก โดยเนื้อวัวครึ่งกิโลกรัม จำเป็นต้องใช้น้ำมากถึง 6,800 ลิตร นอกจากนี้ โรงฆ่าสัตว์ส่วนใหญ่ยังมีการจัดการที่ไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้ของเสียถูกปล่อยออกสู่ธรรมชาติ และเกิดเป็นมลภาวะสู่ชั้นบรรยากาศในที่สุด การทำปศุสัตว์ ยังมีผลให้ดินเสื่อมสภาพเร็ว เนื่องจากจำเป็นที่จะต้องถางป่า และปรับสภาพผืนดินเพื่อการเลี้ยง และปลูกพืชอาหารสัตว์ หน้าดินจึงเสื่อมสภาพอย่างหนัก และอาจใช้เวลาร่วมศตวรรษถึงจะกลับสู่สภาพเดิมได้ ทุกวันนี้ 25% ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเกิดจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมถึงการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่ฟาร์ม โดยก๊าซมีเทน , ไนตรัสอ๊อกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากการเลี้ยงวัว และการใช้ปุ๋ยนั้น มีปริมาณเทียบเท่ากับก๊าซที่ปล่อยจากรถยนต์, เครื่องบิน และการขนส่งอื่นๆ เสียด้วยซ้ำ เดือนตุลาคมปีที่แล้ว นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า หากเราต้องการจะแก้ไขปัญหาสภาวะโลกร้อน ประเทศแถบตะวันตกจำเป็นที่จะต้องลดการบริโภคเนื้อถึง 90% และเพิ่มการบริโภคอาหารจำพวกถั่วถึง 5 เท่าทดแทน WWF ทำงานกับฟาร์มปศุสัตว์มากมาย เพื่อสนับสนุนการผลิตอย่างยั่งยืน พร้อมทั้งแนะนำแนวทางการบริโภคอย่างยั่งยืนเพื่อเป็นทางเลือกใหม่ให้คนในชุมชน นอกจากนี้ พวกเราทุกคนยังสามารถ #กินเนื้อน้อยลง และ #กินไม่เหลือ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการรักษ์โลกได้ด้วย Manager online 20.05.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร