Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

วว. จับมือ ซีพี ออลล์ วิจัยสารสกัดจากส่วนคัดทิ้งของกะเพรา  

วว.ร่วมกับซีพี ออลล์ วิจัยและพัฒนาการเตรียมสารสกัดจากส่วนคัดทิ้งของกะเพรา พร้อมศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดกะเพราทางการแพทย์และเภสัชกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ. ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า วว. ได้ลงนามความร่วมมือ กับซีพี ออลล์ ใน การวิจัยและพัฒนาการเตรียมสารสกัดจากส่วนคัดทิ้งของกะเพรา (ดอก กิ่ง ก้าน และลำต้น) จากโรงงานผลิตอาหารพร้อมรับประทานและการศึกษาฤทธิ์ลดไขมัน ปกป้องเซลล์ตับ ฆ่าเซลล์มะเร็ง ทั้งนี้ความร่วมมือดังกล่าวมุ่งวิจัยและพัฒนาการเตรียมสารสกัดจากส่วนคัดทิ้งของกะเพรา ได้แก่ ดอก กิ่ง ก้าน และลำต้น จากโรงงานผลิตอาหารพร้อมรับประทานซีพีแรม ซึ่งศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพร วว. จะทำการศึกษาฤทธิ์ลดไขมัน ปกป้องเซลล์ตับ ฆ่าเซลล์มะเร็ง ผ่านการดำเนินการร่วมกับบมจ. ซีพี ออลล์ โดย วว. จะนำศักยภาพความเชี่ยวชาญด้านการวิจัยและให้บริการวิเคราะห์ทดสอบด้านผลิตภัณฑ์นวัตกรรมสมุนไพรที่ได้มาตรฐานยอมรับในระดับสากลและสนองตอบ ต่อความต้องการของลูกค้ามากว่า 56 ปี เข้ามาร่วมต่อยอดองค์ความรู้ในการพัฒนาด้านต่างๆ ภายใต้โครงการ ให้ประสบผลสำเร็จเป็นรูปธรรม. ด้านนายวิเศษ วิศิษฏ์วิญญู กรรมการบริหาร บมจ.ซีพี ออลล์ ผู้ก่อตั้งร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ในประเทศไทย กล่าวว่า ทุกวันนี้กะเพราเป็นวัตถุดิบหลักของอาหารกล่องพร้อมรับประทาน ถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีบทบาทสำคัญในแง่ความมั่นคงของอาหาร อีกทั้งซีพีแรม บริษัทในกลุ่มบริษัทซีพี ออลล์ ยังได้ศึกษา วิจัย ค้นคว้าสายพันธุ์กะเพราที่มีความหอม รสชาติเผ็ด จนพบสายพันธุ์กะเพราพื้นบ้านที่ดีที่สุด และได้ส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ใกล้เคียงกับโรงงานผลิตอาหารพร้อมรับประทานของซีพีแรม ร่วมกันปลูก เพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวภายใต้โครงการ “เกษตรกรคู่ชีวิต” ทำให้มีใบกะเพราที่ดี มีคุณภาพ ไปปรุงอาหารให้ผู้บริโภคได้รับประทานและส่งผลดีต่อสุขภาพ แต่ในกระบวนการผลิตอาหารพร้อมรับประทาน กะเพรายังมีส่วนคัดทิ้ง ได้แก่ ดอก กิ่ง ก้าน และลำต้น อีกเป็นจำนวนมากที่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ “การต่อยอดนำส่วนคัดทิ้งของกะเพรามาทำให้เกิดประโยชน์ จะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสังคม ส่งเสริมให้เกษตรกรมีรายได้ที่สูงขึ้นและมั่นคง อีกทั้งยังสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับเกษตรกร และสังคม จึงได้ร่วมกับ วว. วิจัยและพัฒนาการเตรียมสารสกัดจากส่วนคัดทิ้งของกะเพรา ซึ่งสามารถนำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยเพื่อใช้ปรุงอาหาร นอกจากนั้นยังสามารถนำมาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ต่อวงการแพทย์ และวงการเภสัชกรรมได้อีกด้วย” นายวิเศษ กล่าว Dailynews online 18.05.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร