Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยอังกฤษพัฒนาระบบตรวจหามะเร็งลำไส้ใหญ่ล้ำสมัย   

มะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดอันดับที่สามของโลก เเละหากตรวจพบเร็วเท่าใด ผู้ป่วยก็มีโอกาสสูงมากขึ้นเท่านั้นที่จะหายจากโรค เเต่แพทย์ที่ทำการตรวจด้วยการส่องกล้องลำไส้ใหญ่มักไม่สามารถมองเห็นทุกอย่างที่แสดงบนหน้าจอได้เสมอไป และรายละเอียดอื่นๆ ที่มีขนาดเล็กอาจตรวจไม่พบ ลอเรนซ์ เลิฟวัท ผู้เชี่ยวชาญที่มหาวิทยาลัย UCL กล่าวว่า การตรวจด้วยการส่องกล้องลำไส้ใหญ่อาจตรวจไม่พบติ่งเมือกหนึ่งในห้าในระหว่างการตรวจ เเละนี่เป็นปัญหาใหญ่ เพราะมะเร็งชนิดนี้เป็นสาเหตุใหญ่อันดับที่สองที่ทำให้คนเสียชีวิตในอังกฤษ ทีมนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า ปัญญาประดิษฐ์สามารถมองเห็นภาพถ่ายได้ทั้งหมด เพราะไม่มีทางมองผิดจุดเเละไม่มีทางเสียสมาธิ ปีเตอร์ เมาท์นี่ ซีอีโอของ Odin Vision กล่าวว่า เมื่อได้ภาพวิดีโอสดภายในลำไส้ใหญ่ ระบบที่ใช้จะนำภาพวิดีโอที่ได้ไปวิเคราะห์ทีละภาพเเละประมวลข้อมูลด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ เเละตนเองพยายามระบุว่าติ่งที่เห็นอยู่ในจุดใดของลำไส้ใหญ่โดยมองที่ลักษณะของเนื้อเยื่อที่มีสีเเตกต่างกันไป ข้อมูลที่ได้นี้มีขนาดใหญ่เเละมีรายละเอียดมากเกินไปที่จะส่งผ่านทางอินเตอร์เน็ต ดังนั้น ระบบ Odin Vision จะใช้การสื่อสารระหว่างโลกเเละดาวเทียมที่ห่างออกไปหลายล้านไมล์แทน โดยจัดเก็บเอาไว้ในฐานข้อมูล cloud เเละส่งข้อมูลกลับมาที่แพทย์ในขณะที่กำลังทำการตรวจทันที การพัฒนาเทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในระยะเเรกเริ่มในขณะนี้ หากเทคโนโลยีประสบความสำเร็จ ระบบจัดเก็บข้อมูลใน cloud นี้จะเข้าถึงได้โดยคลินิกเเละโรงพยาบาลต่างๆ เเม้ในเขตชนบทห่างไกล เพื่อสร้างความมั่นใจว่าผู้ป่วยทุกคนจะได้ผลการวินิจฉัยที่รวดเร็วเเละเเม่นยำ แดน สโตยานอฟ ผู้เชี่ยวชาญแห่งภาควิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่มหาวิทยาลัย UCL กล่าวว่า AI มีบทบาทช่วยให้ทีมงานสามารถพัฒนาบริการที่มีคุณภาพ เพื่อรับประกันว่าผู้ป่วยได้รับการบริการตรวจวินิจฉัยโรคที่ดีที่สุด นักวิทยาศาสตร์ที่กำลังพัฒนาระบบ Odin Vision หวังว่าเทคโนโลยีใหม่ที่ก้าวหน้านี้จะช่วยรักษาชีวิตของผู้ป่วยหลายพันราย เเละช่วยให้ผู้ป่วยไม่ต้องเข้ารับการบำบัดด้วยการฉายรังสี ผู้ป่วยที่หายจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ต่างหวังว่า เทคโนโลยีตรวจวินิจฉัยโรคใหม่นี้จะพร้อมออกมาให้ใช้งานกันในอนาคตอันใกล้ บริษัท Odin Vision กำลังวางแผนที่จะศึกษาทดลองในคนเป็นโครงการนำร่องในอีก 12 เดือนข้างหน้า เเละคาดว่าเทคโนโลยีใหม่นี้จะพร้อมออกมาให้ใช้งานกันในอีกสองปีข้างหน้า Voice of America 27.05.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร