Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อนามัยโลกระบุ "เหนื่อยจากงาน" และ "ติดเกม" เป็นอาการป่วย   

เมื่อเร็วๆ นี้ องค์การอนามัยโลก หรือ WHO ได้ระบุให้ "การติดเกม" และ "อาการเหน็ดเหนื่อยจากการทำงาน" เป็นอาการป่วยที่ควรได้รับการรักษาหรือคำแนะนำจากแพทย์ องค์การอนามัยโลก ระบุอย่างเป็นทางการว่า การติดเกม หรือ Gaming disorder เป็นอาการป่วยทางจิตชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทเดียวกับการติดสารเสพติด หรือพฤติกรรมเสพติดต่างๆ รวมถึง การติดการพนัน โดยจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนมกราคมปี ค.ศ. 2022 เป็นต้นไป WHO ระบุไว้ใน "การจัดหมวดหมู่ของโรคหรือปัญหาทางสุขภาพตามสถิติระหว่างประเทศ" หรือ ICD-11 ว่า อาการติดเกม หมายถึง การเล่นเกมวนเวียนซ้ำๆ ซึ่งนำไปสู่ความบกพร่องในการควบคุมพฤติกรรมนั้นๆ และให้ความสำคัญต่อการเล่นเกมเป็นอันดับแรกเหนือความสนใจอื่นๆ หรือกิจกรรมอื่นๆ ในชีวิตประจำวัน จนเกิดผลเสียต่างๆ ตามมา อย่างไรก็ตาม บริษัทเกมทั่วโลก รวมถึงสมาคมผู้ผลิตซอฟท์แวร์เพื่อความบันเทิง และสมาคมผู้ผลิตเกมของอังกฤษ ต่างออกมาคัดค้านองค์การอนามัยโลก โดยระบุว่ายังไม่มีงานวิจัยมากพอที่จะรับรองได้ว่าการติดเกมเป็นอาการป่วย และขอให้ WHO พิจารณาเรื่องนี้อีกครั้ง ขณะที่สมาคมจิตเวชอเมริกัน ชี้ว่า ยังไม่มีหลักฐานเพียงพอที่บ่งชี้ว่า อาการติดเกมเป็นอาการป่วยทางจิตชนิดหนึ่ง ด้านคุณเชคาร์ ซาเซนา ผู้เชี่ยวชาญของ WHO กล่าวกับสำนักข่าวรอยเตอร์ว่า มีรายงานวิจัยที่ชี้ว่า คนที่เล่นเกมถึงวันละ 20 ชม. จะเกิดปัญหาต่อการทำกิจกรรมอื่นๆ เช่น การทำงาน การนอนหลับ และการรับประทานอาหาร และแม้คนที่เล่นเกมในปริมาณน้อยกว่านั้นก็อาจเกิดผลเสียในลักษณะเดียวกัน ซึ่งการจัดให้อาการติดเกมนี้เป็นอาการป่วย ถือเป็นการส่งสัญญาณให้ป้องกันผลเสียดังกล่าวได้ นอกจาก "อาการติดเกม" แล้ว WHO ยังได้จัดให้ "ความเหนื่อยล้าจากการทำงาน" เป็นอาการป่วยอย่างหนึ่งเช่นกัน องค์กรอนามัยโลก ให้คำจำกัดความใหม่ของอาการป่วยที่เกิดจากความเหนื่อยล้าในการทำงาน หรือ Burnout syndrome ว่าเกิดจากความเครียดเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุมได้ ในคู่มือ "การจัดหมวดหมู่ของโรคหรือปัญหาทางสุขภาพตามสถิติระหว่างประเทศ" หรือ ICD-11 แม้ WHO จะมิได้ระบุว่าความเหนื่อยล้านี้เป็นโรคทางการแพทย์ แต่ก็ชี้ว่าเป็น "ปรากฎการณ์ด้านการทำงาน" ที่อาจส่งผลต่อสุขภาพและควรได้รับคำแนะนำจากแพทย์ด้วย WHO บอกด้วยว่า ความเหนื่อยล้าในที่นี้ หมายถึง อาการหมดแรง หมดพลังงาน จิตใจล่องลอยไปจากงานที่อยู่ตรงหน้า หรือมีความรู้สึกด้านลบอย่างรุนแรงต่องานที่ทำอยู่ ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพหลายคนเห็นด้วยกับการปรับคำจำกัดความของ Burnout syndrome ในครั้งนี้ โดยเชื่อว่าจะช่วยให้ผู้ที่มีอาการเหนื่อยล้าจากการทำงานแบบเรื้อรัง สามารถตัดสินใจพบแพทย์เพื่อขอการรักษาได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะในประเทศแถบยุโรป ที่คุณหมอจำนวนมากยัง อาศัยคู่มือฉบับนี้ของ WHO เป็นแนวทางในการวินิจฉัยโรค Voice of America 29.05.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร