Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อาหารฟาสต์ฟูดบวกการไม่สนใจออกกำลังกายส่งผลถึงโรคความจำเสื่อมได้   

การศึกษาของมหาวิทยาลัย Australian National University (ANU) ในออสเตรเลีย ที่วิเคราะห์ผลการวิจัยระหว่างประเทศราว 200 ชิ้นโดยอาศัยกลุ่มตัวอย่างกว่า 7,000 คน ซึ่งเผยแพร่ในวารสารวิชาการ Frontier in Neuroendocrinology ระบุความเกี่ยวพันระหว่างการทานอาหารแคลอรี่สูงประเภทฟาสต์ฟูด กับโรคทางสมอง โดยเฉพาะโรคความจำเสื่อม โดยผู้เชี่ยวชาญชี้ว่า โดยเฉลี่ยแล้วคนในยุคนี้ทานอาหารที่มีแคลอรี่สูงกว่าเมื่อ 50 ปีก่อน จากชีวิตที่รีบเร่งและการมีอาหารทางเลือกที่เร็วและสะดวก ตัวอย่างเช่น อาหารฟาสต์ฟูดหนึ่งมื้อซึ่งประกอบด้วยเบอร์เกอร์ มันฝรั่งทอด กับเครื่องดื่มนั้น จะมีแคลอรี่ประมาณ 650 หน่วย ซึ่งเท่ากับราวหนึ่งในสี่ของความต้องการแคลอรี่สำหรับผู้ชายในแต่ละวัน และเท่ากับประมาณหนึ่งในสามของความต้องการแคลอรี่สำหรับผู้หญิงในแต่ละวัน ศาสตราจารย์ Nicolas Cherbuin ของมหาวิทยาลัย ANU อธิบายว่าอาหารที่มีแคลอรี่สูง เช่น อาหารฟาสต์ฟู้ด มีความเกี่ยวพันกับโรคอ้วนและปัญหาเบาหวานประเภทสอง และถ้าประกอบกับการขาดกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกายหรือการออกกำลังกายด้วยแล้ว ก็จะทำให้เกิดภาวะอักเสบในร่างกาย หรือ inflammation ซึ่งนำไปสู่ปัญหาการทำงานของเซลล์สมองและปัญหาความจำเสื่อมเมื่อเราอายุมากขึ้นได้ นักวิจัยเตือนว่า ถึงแม้อาการความจำเสื่อมส่วนใหญ่มักจะแสดงให้เห็นในช่วงเลยวัยกลางคนไปแล้วก็ตาม กระบวนการซึ่งสร้างความเสียหายให้กับเซลล์ประสาทและทำให้เกิดโรคความจำเสื่อมหรือสมองฝ่อนี้จะไม่สามารถแก้ไขให้กลับคืนได้เมื่อย่างเข้าวัยกลางคน แต่เรื่องนี้ก็อาจป้องกันได้หากเราเลือกทานอาหารที่ดีมีประโยชน์และสนใจออกกำลังกายในเชิงป้องกันตั้งแต่ยังเยาว์วัย ขณะนี้มีผู้คนราวหนึ่งในสามของโลกมีน้ำหนักตัวเกินหรือเป็นโรคอ้วน และมีราว 50 ล้านคนซึ่งเป็นโรคความจำเสื่อม ดังนั้นคำแนะนำอย่างชัดเจนของนักวิจัยจากการศึกษาเรื่องนี้คือ อย่าละเลยเรื่องความสำคัญและความจำเป็นของการดูแลสุขภาพตัวเอง การเลือกทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อสุขภาพ และสนใจออกกำลังกายตั้งแต่ในช่วงวัยหนุ่มสาว เพราะถ้ารอให้เวลาล่วงเลยไปถึงช่วงวัยกลางคนหรือวัยทองแล้วก็อาจจะสายเกินไป องค์การอนามัยโลกให้คำแนะนำด้วยว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการออกกำลังกายประเภท Cardio ซึ่งทำให้หัวใจเต้นแรง การไม่สูบบุหรี่ และละเว้นการบริโภคแอลกอฮอล์ในปริมาณที่มากเกินไป การควบคุมน้ำหนักตัว การทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ การรักษาระดับความดันโลหิตและระดับโคเลสเตอรอลให้เหมาะสม รวมทั้งการได้นอนหลับพักผ่อนอย่างมีคุณภาพและเพียงพอ ล้วนเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงของโรคความจำเสื่อมได้ Voice of America 19.06.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร