Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

การประชุมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง  

ตลอดการเป็นประธานอาเซียนของไทยในปี 2562 ในสิ่งที่ไทยในฐานะประธานอาเซียนจะนํามาใช้ตลอดปีคือ การใช้แนวทางการจัดประชุมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือ Green Meeting ควบคู่ไปกับประเด็นสําคัญที่ รัฐบาลพูดถึงมาตลอดคือการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง นายธฤต จรุงวัฒน์ อดีตเอกอัครราชทูต และหัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการอาเซียน 2019 ของกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งรับผิดขอบดูแลภาพรวมของการจัดการประชุ่มอาเซียนตลอดปีนี้ เล่าให้ฟังถึงที่มาของแนวคิดดัง กล่าวว่า ปัจจุบันขยะพลาสติกเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลก โดยข้อมูลที่น่าตกใจคือ 6 ใน 10 ประเทศที่มีขยะพลาสติกในทะเลมากที่สุดในโลกคือประเทศสมาช็กอาเซียนขณะที่หนึ่งในแนวคิดหลักภายใต้การเป็นประธานอาเซียนของไทยคือการสร้างความยั่งยืนซึ่งรวมถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศด้วย ท่านทูตธฤตบอกว่า ตลอดปี 2562 นี้ไทยจะต้องเป็นเจ้าภาพการประทุ่มอาเซียนมากกว่า 180 การประชุมและจะมีผู้เดินทางมาเข้าร่วมการประทุ่มทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และสื่อมวลชนไม่ต่ํากว่า 10,000 คน ซึ่งย่อมทําให้เกิดขยะพลาสติกและการใช้กระดาษจํานวนมากกระทรวงการต่างประเทศจึงได้หารือร่วมกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอแนวทางการจัดการประชุ่มที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักการ 3Rs ได้แก่ การลดใช้วัสดุสิ่งของที่จะกลายเป็นขยะ (Reduce) การ ใช้วัสดุสิ่งของที่สามารถใช้งานได้หลายครั้ง (Reuse) และการนําวัสดุสิ่งของที่เป็นขยะมาผลิตเป็นสิ่งของใช้ ประโยชน์ใหม่ (Recycle) การผลักดันให้การประชุมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเกิดขึ้นได้จริงเป็นการร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน อาทิ เอสซีจี ที่สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประชุมซึ่งผลิตจากกระดาษรีไซเคิลหรือกระดาษชานอ้อย บริษัทพีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด สนับสนุนวัสดุที่ผลิตจากพลาสติกชีวภาพหรือเส้นใยพลาสติกรีไซเคิล กลุ่มเซ็นทรัลที่ช่วยสนับสนุนผลิตภัณฑ์ซุ้มขั้นที่จัดมาเป็นที่ระลึกให้กับผู้เข้าร่วมประชุมและสื่อมวลชน บริษัท Magnolia Quality Development Corporation จํากัด ที่จะนําป้ายพลาสติกไวนิลเหลือใช้จากการจัดประชุม มาตัดเย็บเป็นกระเป๋าใส่ของเพื่อลดขยะและสร้างคุณค่าใหม่ให้กับสิ่งที่นํามาใช้เหล่านี้ ไม่เพียงเท่านั้นแม้แต่การเลือกใช้สถานที่จัดการประชุมและโรงแรมที่พักก็ต้องมีการได้รับการรับรองมาตรฐาน การพัฒนาอย่างยั่งยืนหรือมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการพลังงาน และการดําเนินมาตรการที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม อาทิ การคัดแยกขยะ ใช้ขวดแก้วแทนขวดพลาสติก กระทั่งกล่องบรรจุอาหารสําหรับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการประทุ่มทั้งหมดก็ต้องไม่ใช้กล่องโฟม แต่หันมาใช้ กล่องใส่อาหารและซื้อนส้อมที่ผลิตจากวัสดุที่ย่อยสลายง่าย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงสามารถใช้ได้ ซ้ําอีก เพราะเพียงแค่กล่องอาหารสําหรับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 34 ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22 ถึง 23 มิถุนายนนี้ ก็มีมากถึง 40,000 กล่อง นั่นหมายถึงว่าหากไม่ใช้วัสดุเช่นนี้จะ สร้างขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นกว่าแสนชิ้น การจัดการประชุ่มอาเซียนตลอดปีของไทยยังงดใช้วัสดุที่ทําจากโฟมในการตกแต่งห้องประทุ่ม แต่มีการนํา เอากระดาษมาจัดทําเป็นตราสัญลักษณ์ของการประทุ่มแทน ซึ่งสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายและสามารถนําไป ใช้ได้ใหม่ในการประชุมครั้งต่อไป ขณะที่ข้าวของบางอย่าง อาทิ เก้าอี้ที่ทําขึ้นจากกระดาษก็ได้นําไปมอบให้ กับโรงเรียนในท้องถิ่นหรือจังหวัดที่มีการจัดประชุ่มเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ต่ออีกด้วย ในประเด็นของการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังนั้น ท่านทูตธฤตบอกว่า สิ่งของที่นํามาแจกให้กับผู้เข้าร่วมประชุมรวม ถึงสื่อมวลฑ์นนอกจากจะเน้นวัสดุรีไซเคิลแล้วยังเน้นการสนับสนุนผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยมีการนําเอาข้าวของ ต่างๆ ที่ผลิตขึ้นจากชุ่มชนทั่วประเทศมาผลิตเป็นของที่ระลึก อาทิ ป้ายห้อยกระเป๋าที่ผลิตจากผ้าทอไทลื้อใน จ.เชียงราย และกระเป๋า นอกจากนี้ยังมีช็อกโกแลตที่ผลิตขึ้นมาแจกจ่ายให้กับผู้เข้าร่วมประชุมยังทําขึ้นโดยมูลนิธิศูนย์พัฒนาและฝึก อบรมคนพิการแห่งเอเชียแปซิฟิก (เอพีซีดี) ที่มีการตั้ง 60 Plus+ Bakery & Cafe Project ขึ้นเพื่อฝึกอบรม และสร้างอาชีพสําหรับผู้พิการ เพื่อให้พวกเขากลายเป็นผู้มีงานท่า เช่นเดียวกับภายในสถานที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 34 ที่ได้มีการนําคาเฟ่อเมซอนมาเสิร์ฟ เครื่องดื่มให้กับผู้เข้าร่วมประชุม แต่สิ่งที่พิเศษคือบาริสต้าเป็นผู้พิการทางการได้ยินที่มีความ สามารถในการซงเครื่องดื่มได้ไม่แพ้ใคร โดยผู้ประชุมจะสื่อสารกับน้องๆ บาริสต้าได้ผ่านการทํา สัญลักษณ์มือตามป้ายที่วางไว้ด้านหน้า สร้างรอยยิ้มและความประทับใจให้ผู้ร่วมงานสมกับความ ตั้งใจที่จะ “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” ได้เป็นอย่างดี asean2019.go.th 27.06.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร