Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ทีมแพทย์สหรัฐฯ เผย 3 วิธีรักษามะเร็งแบบตรงจุด  

การรักษาโรคมะเร็งแบบดั้งเดิม ที่มีทั้งการให้เคมีบำบัด การฉายแสง รวมทั้งการผ่าตัด ทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อผู้ป่วยมะเร็งอย่างมาก จากที่การให้เคมีบำบัดและฉายแสงจะเข้าไปทำลายเซลล์มะเร็งพร้อมๆกับเซลล์ปกติในร่างกายผู้ป่วย แต่ในปัจจุบัน การรักษามะเร็งเริ่มจะเน้นการรักษาที่ตรงจุดมากขึ้น อย่างการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ตรวจพบในระยะแรก ซึ่ง ดร.จูเลียน ไวท์ จากศูนย์มะเร็งครบวงจรแห่ง Ohio State University ผู้ศึกษาวิธีการฉายแสงเฉพาะจุดสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง บอกว่า การรักษามะเร็งด้วยการฉายแสงเฉพาะจุดเป็นวิธีที่ได้ผล ดร. ไวท์ อธิบายว่า การฉายรังสีอ่อนๆ จากหลายๆ จุดในบริเวณที่ผ่าตัดเนื้องอกในเต้านมออกไปแล้ว ซึ่งใช้เวลารักษาเพียง 5 วัน ให้ผลดีเทียบเท่ากับการฉายแสงเต้านมแบบดั้งเดิม ที่ใช้เวลาราว 4-6 สัปดาห์ อีกด้านหนึ่ง ดร. วิลเลียม เนลสัน จากมหาวิทยาลัยจอห์น ฮอพกินส์ บอกว่า การบำบัดด้วยการใช้ภูมิคุ้มกันเข้ามาจัดการเซลล์มะเร็ง ก็เป็นอีกทางเลือกที่ได้รับความนิยมในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งในปัจจุบัน ดร. เนลสัน บอกว่า จากการศึกษาพบว่าภูมิต้านทานของมนุษย์สามารถมองเห็นเซลล์มะเร็งในร่างกายว่าเป็นสิ่งผิดปกติ และหากเราสามารถปลดปล่อยศักยภาพของระบบภูมิต้านทานในร่างกายผู้ป่วย ก็จะสามารถใช้ประโยชน์จากระบบดังกล่าวทำลายเซลล์มะเร็งได้ ล่าสุด มีอีกหนึ่งหนทางการรักษา ที่ลงลึกถึงระดับดีเอ็นเอ โดยแพทย์จะตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรมของเซลล์มะเร็งของผู้ป่วย และออกแบบตัวยาที่จะเข้าไปทำลายเซลล์มะเร็งโดยตรงได้อย่างแม่นยำ ดร.มาร์เซีย โบรส จากศูนย์โรคมะเร็งอะแบรมสันแห่ง University of Pennsylvania ผู้เชี่ยวชาญเทคนิคการรักษารูปแบบนี้ บอกว่า มะเร็งของผู้ป่วยแต่ละรายมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันไปเหมือนกับความแตกต่างทางดีเอ็นเอของแต่ละบุคคล การรักษานี้จึงเริ่มจากตรวจองค์ประกอบความผิดปกติของดีเอ็นเอในเซลล์มะเร็งของผู้ป่วย เพื่อหาต้นตอของมะเร็ง และหาวิธีการรักษาที่ได้ผลและตรงจุด ซึ่งจะไม่เข้าไปทำลายเซลล์ปกติ และมีผลข้างเคียงน้อยกว่าการรักษาแบบดั้งเดิม อย่างไรก็ตาม ดร.โบรส มองว่าการรักษาแบบนี้อาจไม่เหมาะกับผู้ป่วยทุกรายไป แพทย์หญิงจากศูนย์โรคมะเร็งอะแบรมสัน พบว่าการรักษานี้ให้ผลดีกับผู้ป่วยมะเร็งที่ยังไม่หายขาด ผู้ป่วยที่กลับมาเป็นซ้ำหลายครั้ง และผู้ป่วยที่มะเร็งลามไปในส่วนอื่นของร่างกาย แม้ว่าวิธีการรักษามากมายที่กล่าวมาข้างต้น อาจจะไม่ใช่หนทางที่ใช่สำหรับผู้ป่วยมะเร็งทุกราย แต่สำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งแล้วการรักษาแบบตรงจุด ไม่ว่าจะเป็นการฉายแสงเฉพาะจุด ศาสตร์ภูมิคุ้มกันบำบัด หรือการรักษาที่ลงลึกถึงระดับดีเอ็นเอ ล้วนแล้วแต่เป็นวิธีใหม่ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ซึ่งช่วยร่นเวลาในการรักษาและให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าในอนาคต Voice of America 28.06.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร