Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นาซ่าเตรียมส่งยาน 'ดราก้อนฟลาย' สำรวจดวงจันทร์เยือกแข็ง 'ไททัน'   

หากดูเผินๆ เเล้ว ดวงจันทร์ไททันของดาวเสาร์มีลักษณะคล้ายกับโลกอย่างมาก มีทะเลสาบและมหาสมุทรกระจายทั่วไปเเละมีฝนตกเป็นบางครั้งบางคราว ทำให้ทรายที่เป็นผิวหน้าของดวงจันทร์ไททันมีความเปียกชื้น เเต่ดวงจันทร์ไททันก็เเตกต่างจากโลกเช่นกัน โดยมีความหนาวเย็นติดลบจนน้ำกลายเป็นน้ำเเข็ง เเก๊สมีเทนกลายเป็นแก๊สเหนียวเหมือนน้ำมัน พื้นทรายบนดวงจันทร์ไททันเกิดขึ้นจากวัสดุอินทรีย์ชนิดต่างๆ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน เเละออกซิเจน ซึ่งต่างจากเม็ดทรายที่พบทั่วไปตามชายหาดบนโลก Elizabeth Turtle หัวหน้านักวิจัยประจำโครงการ ดราก้อนฟลาย (Dragonfly) กล่าวว่า สิ่งหนึ่งที่น่าตื่นเต้นมากเกี่ยวกับดวงจันทร์ไททันอยู่ที่ดวงจันทร์ดวงนี้มีทั้งความเหมือนเเละความเเตกต่างจากโลก เราไม่สามารถมองเห็นผิวหน้าของดวงจันทร์ไททันได้เพราะถูกบดบังจากชั้นบรรยากาศที่ขมุกขมัวของดวงจันทร์ดวงนี้ ซึ่งมีความหนาเเน่นมากกว่าชั้นบรรยากาศโลกสี่เท่าตัว เมื่อรวมเข้ากับเเรงดึงดูดระดับต่ำกว่าโลกถึง 1 ใน 7 ทำให้ดวงจันทร์ไททันเหมาะเเก่การสำรวจจากทางอากาศ ยานสำรวจดราก้อนฟลายมีใบพัดสองชุด รวมสี่ใบพัด โดยวางทับด้านบนทำให้มองเเล้วเหมือนกับโดรน เพียงเเต่มีขนาดใหญ่กว่าโดรนทั่วไปมาก มีความยาวที่ประมาณ 3 เมตร เเละสูงกว่าหนึ่งเมตร การออกแบบนี้ช่วยให้ยานสำรวจสามารถถ่ายภาพจากทั้งทางอากาศเเละจากภาคพื้นดินได้ ตลอดจนสามารถลงจอดบนพื้นผิวที่เย็นจนกลายเป็นน้ำเเข็งของดวงจันทร์ไททันได้ การสำรวจเน้นที่พื้นที่บริเวณใกล้กับจุดศูนย์สูตรของไททันที่มีเนินทรายปกคลุม ซึ่งมีลักษณะคล้ายๆกับเนินทรายของทะเลทรายบนโลก จากจุดนี้ ดราก้อนฟลายจะเริ่มการสำรวจดวงจันทร์ไททันด้วยการกระโดดกบ เพื่อตระเวณสำรวจจุดเป้าหมายต่อไปว่ามีอะไรอยู่ในบริเวณบ้าง เเล้วจะกลับมายังจุดลงจอดเพื่อวิเคราะห์ตัวอย่างของผิวหน้า ถ่ายภาพเเละตรวจหาแผ่นดินไหว หรือ titanquakes ยานดราก้อนฟลายเดินทางไกล 8 กิโลเมตรต่อการกระโดดกบหนึ่งครั้ง ทำให้สามารถเดินทางเข้าไปถึงหลุม Selk crater ที่อยู่ห่างจากจุดลงจอดไปกว่า 100 กิโลเมตรได้ ทีมนักวิทยาศาสตร์คิดว่า ความร้อนที่เกิดจากการพุ่งชนของลูกอุกาบาตจนทำให้พื้นผิวกลายเป็นหลุม น่าจะร้อนมากจนทำให้น้ำเเข็งในเปลือกของดวงจันทร์ไททันละลาย สร้างสภาพเเวดล้อมที่มีองค์ประกอบเพียบพร้อมสำหรับสิ่งมีชีวิต ทีมงาน ดราก้อนฟลาย ต้องการค้นหาคำตอบว่าการรวมตัวของวัสดุอินทรีย์กับน้ำที่เป็นของเหลวเเละพลังงานในรูปของความร้อน ช่วยก่อให้เกิดโมเลกุลที่มีความซับซ้อนหรือสิ่งมีชีวิตได้หรือไม่ Melissa Trainer รองหัวหน้านักวิจัยของโครงการดราก้อนฟลาย กล่าวว่า ทีมงานมีโอกาสได้สำรวจโลกอีกโลกหนึ่งที่เรารู้ว่ามีองค์ประกอบทุกอย่างที่เหมาะเเก่สิ่งมีชีวิต เเต่ต้องการรู้ว่ามีสิ่งชีวิตกำเนิดขึ้นหรือไม่ หากมีสิ่งมีชีวิตกำเนิดขึ้นบนดวงจันทร์ไททัน ยานสำรวจดราก้อนฟลายน่าจะสามารถตรวจพบได้โดยใช้อุปกรณ์ที่ช่วยเสาะหากรดอะมีโอชนิดหนึ่งที่พบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก ยานสำรวจดราก้อนฟลายจะถูกส่งออกไปทำงานสำรวจในปี ค.ศ. 2026 หรืออีก 7 ปีข้างหน้า เเละจะเดินทางไปถึงดวงจันทร์ไททันในปี ค.ศ. 2034 โดยจะใช้เวลาเดินทางในห้วงอวกาศนาน 8 ปี ในขณะนี้ ทีมนักวิทยาศาสตร์เเละวิศวกรในโครงการมีงานทำมากมายและเเม้ว่ายังต้องใช้เวลานานอีกหลายปี พวกเขามั่นใจว่างานสำรวจดวงจันทร์ไททันของดาวเสาร์ครั้งนี้จะคุ้มค่าแก่การรอคอยอย่างเเน่นอน Voice of America 8.07.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร