Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

รู้จัก 4 เทคโนโลยีทำนาลดโลกร้อน  

ในเกิดก๊าซมีเทนต้นเหตุของภาวะโลกร้อน อีกทั้งการใช้น้ำปริมาณมาก อาจทำให้เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำได้ แต่ชาวนาใน 6 จังหวัดภาคกลางกำลังปรับเปลี่ยนการทำนาของพวกเขาด้วย 4 เทคโนโลยีที่ช่วยลดปัจจัยโลกร้อน และยังช่วยลดต้นการผลิตได้ด้วย การทำนาลดภาวะโลกร้อนนั้น ทำได้ด้วย 4 เทคโนโลยีเริ่มจาก 1.เทคโนโลยีปรับพื้นที่ด้วยระบบเลเซอร์ (Laser Land Leveling: LLL) เป็นการปรับระดับพื้นที่นาข้าว โดยจะเกลี่ยดินจนกระทั่งพื้นที่แปลงนามีความสูง-ต่ำราบเรียบเสมอกัน ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรประหยัดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงการสูบน้ำเข้าแปลงนา ลดการใช้ปุ๋ย ลดจำนวนวัชพืช ประหยัดน้ำที่ใช้ในการปลูกข้าวประมาณ 30-50% และยังช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพข้าว เทคโนโลยีที่ 2.การทำนาแบบเปียกสลับแห้ง (Alternate Wetting and Drying: AWO) ซึ่งเป็นเทคนิคการทำนาที่นักวิชาการแนะนำชาวนามาได้ระยะหนึ่งแล้ว โดยปกติการขังน้ำไว้ในนามากเกินไป แปลงนาจะกลายเป็นแหล่งเพาะโรคแมลงต่างๆ ทำให้ชาวนาต้องใช้สารเคมีกำจัดในภายหลัง ส่งผลให้คุณภาพดินเสื่อมลง การทำนาเปียกสลับแห้งจะเป็นการให้น้ำแก่ต้นข้าวในระยะที่ข้าวต้องการเท่านั้น โดยมีเครื่องมืออย่างง่ายเพื่อช่วยสังเกตระดับน้ำใต้ดินเป็นท่อพีวีซี (PVC) ที่มีขนาด 4 นิ้ว ยาวประมาณ 5 เซ็นติเมตร และเจาะรูรอบๆ ท่อประมาณ 4-5 แถว แต่ละแถวห่างกัน 5 เซ็นติเมตร ซึ่งการทำนาด้วยวิธีนี้จะช่วยให้ระบบรากข้าว การแตกกอและความสมบูรณ์ของรวงข้าวดีขึ้น และช่วยประหยัดน้ำได้สูงสุด 50% และยังประหยัดค่าเชื้อเพลิงสูบน้ำได้ถึง 30% อีกทั้งยังลดการระบาดของแมลงและประหยัดค่าดูแลด้วย หลังจากปรับระดับที่ดินและควบคุมการใช้น้ำแล้ว เทคโนโลยีต่อมาคือการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ปุ๋ยสั่งตัด” โดยการใช้ปุ๋ยมาเกินไปนั้นทำให้ดินเสื่อมสภาพ และส่งผลกระทบต่อคุณภาพข้าว จึงมีความจำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเท่าที่จำเป็น เพื่อให้พอดีกับความต้องการของข้าวและดิน โดยชาวนาสามารถเก็บตัวอย่างดินในแปลงนาไปส่งตรวจกับ “หมอดิน” หรือกรมพัฒนาที่ดินในพื้นที่ เพื่อวิเคราะห์หาความอุดมสมบูรณ์ของดิน และนำไปสู่การใช้ปุ๋ยที่ถูกสูตรถูกอัตรากับคุณภาพของดิน สุดท้ายคือเทคโนโลยีการจัดการฟางและตอซัง ซึ่งโดยทั่วไปชาวนามักเลือกการเผาฟางและตอซัง เนื่องจากการปล่อยให้ย่อยสลายตามธรรมชาตินั้นใช้เวลานาน ไม่สอดคล้องกับการทำนาปีละหลายครั้งของบางพื้นที่ แต่การเผานี้ทำให้ธาตุอาหารที่อยู่ในฟางข้าวและตอซังคือไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมถูกทำลาย โดยไนโตรเจนจะถูกทำลายไป 93% และฟอสฟอรัสหายไป 20% จึงเป็นเหตุให้ดินเสื่อม อีกทั้งยังก่อให้เกิดมลพิษ ฝุ่นขนาดเล็ก PM2.5 และเกิดก๊าซเรือนกระจก ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย สำหรับคำแนะนำในการจัดการฟางข้าวและตอซังโดยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม คือการเอาฟางข้าวออกจากแปลงนาด้วยการอัดเป้นฟางก้อน สำหรับเป็นอาหารสัตว์ หรือเป็นวัสดุเพาะ จากนั้นไถกลบตอซังแล้วปล่อยทิ้งไว้ 1 เดือนก่อนเตรียมดิน โดยพบว่าการไถกลบตอซังแล้วปล่อยทิ้งไว้ 15 วันในสภาพดินแห้งหรือชื้นก่อนการเตรียมดิน สามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีในนาข้าวในฤดูเพาะที่ 2 และฤดูต่อๆ ไป โดยยังคงให้ผลผลิตมากเท่าเดิม ทั้ง 4 เทคโนโลยีที่ระบุไปข้าวต้นนั้น เป็นเทคโนโลยีที่โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดภาวะโลกร้อนจากการทำนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือโครงการไทย ไรซ์ นามา (Thai Rice NAMA) ส่งเสริมแก่ชาวนาใน 6 จังหวัดภาคกลางเขตชลประทาน คือ จ.ชัยนาท จ.สิงห์บุรี จ.อ่างทอง จ.พระนครศรีอยุธยา จ.ปทุมธานี และ จ.สุพรรณบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 2.8 ล้านไร่ โดยตั้งเป้าพัฒนาการผลิตข้าวของชาวนา 100,000 ครัวเรือน โครงการไทย ไรซ์ นามาเป็นโครงการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) มีระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 ปี ระหว่าง พ.ศ.2561-2566 โดยได้รับทุนสนับสนุนโครงการจากกองทุนที่ก่อตั้งโดยอนุสัญญาแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (NAMA Facility) 14.9 ล้านยูโร หรือประมาณ 513 ล้านบาท ทางด้าน น.ส.ดุจเดือน ศศะนาวิน รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แจกแจงว่าสำหรับเงินทุนสนับสนุนกว่า 500 ล้านบาทนั้น ทางโครงการได้แบ่งเงิน 50% เพื่อจัดตั้งเป็นเงินทุนหมุนเวียน โดยให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) เป็นผู้รับเงินและจัดการกองทุน ส่วนหนึ่งให้ชาวนากู้เงินดอกเบี้ย 0% เพื่อนำไปลงทุนและชำระค่าบริการแก่ผู้ให้บริการเทคโนโลยีปรับหน้าดินด้วยเลเซอร์ และมีระยะเวลาใช้หนี้คืน 3 รอบการเพาะปลูก และสินเชื่อสีเขียวซึ่งเป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ให้แก่ผู้ประกอบการที่ใช้บริการเทคโนโลยีปรับหน้าดินด้วยเลเซอร์ Manager online 11.07.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร