Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยสอนหุ่นยนต์ให้ 'คิดวิเคราะห์จากประสบการณ์' เพื่อทำงานได้ดีขึ้น  

การตั้งโปรแกรมเพื่อสอนหุ่นยนต์หรือปัญญาประดิษฐ์ให้ทำงาน เป็นเรื่องที่ทั้งยากและต้องใช้เวลา เช่น การเขียนรหัสพิเศษให้หุ่นยนต์พยายามพับเสื้อยืด จะต้องคำนึงถึงขนาด เนื้อผ้า ตลอดจนขั้นตอนวิธีการต่างๆ ขณะนี้คณะนักวิทยาศาสตร์ด้านคอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐแมรี่แลนด์ วิทยาเขตคอลเลจ พาร์ค กำลังหาทางช่วยให้หุ่นยนต์ทำงานได้ดีขึ้น โดยเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงานที่ผ่านมา Yiannis Aloimonos ศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐแมรี่แลนด์ กล่าวว่า ในปัจจุบัน หุ่นยนต์จำนวนมากยังทำงานได้ค่อนข้างช้า เนื่องจากยังไม่มีความสามารถในการจำแนกความแตกต่างระหว่างการส่งสัญญาณต่างๆ ได้ดีพอ แต่ด้วยการพัฒนาโปรแกรมที่ช่วยฝังความทรงจำเข้าสู่สมองกลของหุ่นยนต์ จะทำให้หุ่นยนต์สามารถใช้ประสบการณ์ที่ผ่านมาในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เพื่อให้ทำงานนั้นได้รวดเร็วยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม การผสมรวมทักษะการเรียนรู้เข้ากับการสั่งงานผ่านจักรกลนั้นเป็นภารกิจที่ไม่ง่ายเลย เวลานี้ศาสตราจารย์ Aloimonos และเพื่อนร่วมงาน กำลังพยายามพัฒนาทฤษฎีคอมพิวเตอร์แบบ Hyper-dimension ซึ่งจะช่วยให้คอมพิวเตอร์ต่างๆ ทำงานได้ดีขึ้น ตัวอย่างเช่น โทรศัพท์สมาร์ทโฟนจะสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ และเก็บสะสมประสบการณ์ต่างๆ รวมทั้งสามารถบอกตำแหน่งที่ตั้งต่างๆ ได้ทันที จากการวิเคราะห์รูปถ่ายรูปหนึ่ง ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีควบคุมระยะไกล หรือ โดรน ก็สามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมได้โดยอัตโนมัติ โดยไม่จำเป็นต้องมีมนุษย์คอยกำกับ การเปลี่ยนแปลงที่น่าทึ่งอีกอย่างหนึ่ง คือดวงตาของหุ่นยนต์ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าไม่ได้เป็นเพียงกล้องธรรมดาอีกต่อไป แต่เป็นเซ็นเซอร์ที่สามารถรับสัญญาณการมองเห็นภาพแบบต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งช่วยในการตอบสนองต่อการเคลื่อนไหวและแสงต่างๆ ได้ กลไกดังกล่าวคล้ายกับดวงตาของมนุษย์ที่ส่งสัญญาณอย่างต่อเนื่องไปที่ "สมองกล" ที่บันทึกและเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้มากมายมหาศาล เพื่อสร้างสรรค์สิ่งที่คล้ายกับประสบการณ์ชีวิตในความทรงจำของมนุษย์เรา นักวิทยาศาสตร์บอกว่า วิธีนี้จะทำให้หุ่นยนต์ใกล้เคียงกับมนุษย์มากขึ้นเรื่อยๆ อย่างไรก็ตาม คณะนักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐแมรีแลนด์ ยอมรับว่าโครงการที่ทำอยู่นี้เป็นเรื่องที่ยากและซับซ้อน ซึ่งยังต้องใช้ความพยายามและการค้นคว้าอีกมาก Voice of America 14.07.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร