Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ออสเตรเลียพัฒนาวัคซีนไข้หวัดใหญ่โดยใช้ปัญญาประดิษฐ์  

นักวิทยาศาสตร์ออสเตรเลียกล่าวว่าพวกเขาใช้ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ในการพัฒนาวัคซีนใหม่ที่ทรงพลังเพื่อต่อต้านไข้หวัดใหญ่ คณะนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Flinders เชื่อว่านี่เป็นครั้งแรกที่คอมพิวเตอร์ใช้การเรียนรู้ด้วยตัวเองเพื่อออกแบบยาใหม่สำหรับใช้ในมนุษย์ นักวิจัยชาวออสเตรเลียใช้คอมพิวเตอร์ที่มีชื่อว่า Sam หรือ Search Algorithm for Ligands ในการคิดค้นวัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิดใหม่ ซึ่งพัฒนามาจากวัคซีนตัวเดิมที่มีใช้อยู่ กุญแจสำคัญของเทคโนโลยีนี้คือการใช้ตัวยาเสริม ซึ่งช่วยให้การรักษาที่มีอยู่แต่เดิมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพื่อป้องกันการติดเชื้อ AI ถูกป้อนข้อมูลเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับวัคซีนที่ใช้ไม่ได้ผล และปล่อยให้ทำงานเองโดยที่ไม่ได้รับความช่วยเหลือใดๆ จากนักวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัย Flinders เลย จากนั้น AI แสดงผลลัพธ์เกี่ยวกับตัวยาเสริมซึ่งอาจจะมีประสิทธิภาพในการรักษาไข้หวัดใหญ่ และเมื่อนักวิทยาศาสตร์ลองทดสอบดู ปรากฏว่าได้ผลจริง นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า นี่คือจุดเริ่มต้นของ "ยุคใหม่" ซึ่งเป็นยุคของการวิจัยด้วยปัญญาประดิษฐ์ การทดลองกับอาสาสมัคร 240 คนในสหรัฐฯ กำลังจะเริ่มขึ้นในไม่ช้า การทดลองนี้ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันโรคภูมิแพ้และโรคติดต่อแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสถาบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐอเมริกา องค์การอนามัยโลกกล่าวว่า ฤดูกาลไข้หวัดใหญ่ในปี พ.ศ. 2562 นี้ดูเหมือนว่าจะเริ่มต้นเร็วกว่าปีที่ผ่านมาในออสเตรเลีย ชิลี แอฟริกาใต้ และนิวซีแลนด์ โรคนี้คร่าชีวิตผู้คนหลายพันคนทั่วโลกในแต่ละปี มีรายงานผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่มากกว่า 115,000 รายในออสเตรเลีย ซึ่งทางการระบุว่ามีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 226 รายในปีนี้ Voice of America 16.07.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร