Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

”สุวิทย์” ลั่นปักธงล้านนาเวทีโลก  

เปลี่ยนอุทยานวิทย์ภาคเหนือสู่ “ระเบียงเศรษฐกิจ” ใช้ 14 มหาวิทยาลัยลุย ”สุวิทย์” ลั่นปักธงล้านนาเวทีโลก ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยหลังตรวจเยี่ยมและให้นโยบายอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ ว่า การทำงานของอุทยานวิทยาศาสต์ภาคเหนือภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) มีการพัฒนาอย่างเต็มรูปแบบ "ผมได้เห็นพลังของคนรุ่นใหม่ในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการที่หลากหลาย ที่สามารถไปแข่งขันในตลาดโลกไปจนถึงการได้เห็นพลังของเครือข่ายมหาวิทยาลัยในภาคเหนือ จาก 7 มหาวิทยาลัยขยายเป็น 14 มหาวิทยาลัยที่ร่วมกันขับเคลื่อนวาระสำคัญต่างๆ โดยมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ตามความเชี่ยวชาญของแต่ละมหาวิทยาลัย และยังเชื่อมโยงไปสู่การทำงานร่วมกันในชุมชนเครือข่าย" ดร.สุวิทย์กล่าว ทว่า ดร.สุวิทย์ ระบุจากนี้เป็นต้นไปการทำงานของอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ จะต้องเปลี่ยนใหม่สู่การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ(Northern Economoc Corridor: NEC) หรือ ล้านนา 4.0 ให้เกิดชึ้นและต้องดำเนินการใน 4 เรื่อง คือ 1.สร้างคน สร้างองค์ความรู้แห่งอนาคต 2.สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3.ลดความเหลื่อมล้ำ โดยมหาวิทยาลัย 14 แห่งของภาคเหนือ จะต้องเข้าไปทำเรื่องเศรษฐกิจฐานราก และ 4.ต้องแก้ปัญหาที่ท้าทายในพื้นที่ เช่น มลพิษ หรือ PM 2.5 หรือการแก้ปัญหาขยะ ดร.สุวิทย์ กล่าวต่อว่า การก้าวไปสู่ระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือของอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ จะต้องนำเมืองนวัตกรรมอาหาร(ฟู้ดอินโนโพลิส) ย่านนวัตกรรม(Innovation District) ทางการแพทย์ ศูนย์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมทั้งต้องผลักดันระบบเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า BCG โมเดล ซึ่งเป็นการบูรณาการการพัฒนาเศรษฐกิจในสามมิติไปพร้อมกัน ได้แก่ B- Bio Economy หรือ เศรษฐกิจชีวภาพ C-Circular Economy หรือเศรษฐกิจหมุนเวียน และ G-Green Economy หรือ เศรษฐกิจสีเขียวเพื่อที่จะพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภายใต้บริบทของภาคเหนือขึ้นมา "ที่สำคัญจะทำอย่างไรที่จะทำให้ความเป็นล้านนา 4.0 ที่มีเสน่ห์ไปอยู่ในสปอร์ตไลท์ของโลกได้ ผ่านการผสมผสานทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปศาสตร์ พร้อมๆกับสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้นมา นี่เป็นสิ่งที่เครือข่าย 14 มหาวิทยาลัยในภาคเหนือจะต้องร่วมกันคิด โดย อว.พร้อมที่จะช่วยปลดล้อคข้อจำกัดและสนับสนุนให้สิ่งต่างๆเกิดขึ้น เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงและตอบโจทย์ในระดับภูมิภาค ประเทศหรือระดับโลก" Manager online 31.08.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร