Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

กรมปศุสัตว์ยัน “เนื้อไก่ไทยปลอดภัย ไม่ก่อมะเร็ง” วอนประชาชนอย่าแตกตื่น  

กรมปศุสัตว์ยัน “เนื้อไก่ปลอดภัย ไม่ก่อมะเร็ง” ขอประชาชนอย่าแตกตื่น ชี้งานวิจัยพบความสัมพันธ์เกี่ยวข้องระหว่างการรับประทานไก่และความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง เป็นเพียงผลการศึกษาเบื้องต้นเท่านั้น ยันเนื้อไก่ไม่ก่อมะเร็ง – นายสรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า จากกรณีที่งานวิจัยพบความสัมพันธ์เกี่ยวข้องระหว่างการรับประทานไก่และความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง เป็นเพียงผลการศึกษาเบื้องต้นเท่านั้น ไม่สามารถระบุความเชื่อมโยงไปกินไก่เป็นสาเหตุการเกิดมะเร็ง ขอประชาชนอย่าแตกตื่น ยันไก่ไทยบริโภคได้ปลอดภัย เพราะงานวิจัยที่มีการอ้างอิงเป็นเพียงการแสดงความสัมพันธ์เบื้องต้นที่ยังต้องการข้อมูลเพิ่มเติมในการสนับสนุน โดยบทความวิจัยไม่ได้ มีการแสดงรายละเอียดกลไกสาเหตุที่ชัดเจนว่าการกินเนื้อไก่เป็นสาเหตุของมะเร็งจริง นอกจากนี้ ยังมีการอ้างถึงในรายงานวิจัยนี้ว่าการเกิดมะเร็งนั้นอาจเกิดจากการได้รับปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ด้วย เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ หรือ สารตกค้างอื่นๆ เป็นต้น และผู้ทำการวิจัยได้กล่าวสรุปในตอนท้ายของบทความดังกล่าวว่าความสัมพันธ์ของการทานไก่และการเกิดมะเร็ง ที่มีรายงานนั้นก็ไม่ได้แสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน จึงควรทำการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคต ด้านดร.โจชัว โบรดี้ ผอ.แผนกภูมิคุ้มกันโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง โรงเรียนแพทย์ Ichan ศูนย์วิทยาศาสตร์และการแพทย์ ได้ให้ข้อเท็จจริงอีกด้าน กับสื่อ NEW YORK DAILY NEWS ว่า ยังไม่สมควร นำงานวิจัย มาแนะนำผู้คน บอกให้พวกเขาหยุดกินไก่ทั้งหมด มีปัจจัยหลายประการสามารถ นำไปสู่โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ปัจจัยหนึ่งที่ดูเหมือนจะเพิ่มความเสี่ยงของโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง คือ การอักเสบ ซึ่งอาจเกิดได้หลายรูปแบบ รูปแบบหนึ่ง คือ โรคแพ้ภูมิตัวเอง เช่น โรคลูปัส กลุ่มอาการของโรค Sjogren และรูปแบบอื่น เช่น การติดเชื้อ หนึ่งคือการติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย H. Pylori ความเชื่อมโยงของการกินไก่และการเกิดมะเร็งต่อมน้ำเหลือง อาจเป็น “สาเหตุ” หรือ “ความบังเอิญ” ก็ได้ ตลอดหลายปีที่ผ่านมานั้น ไม่เคยมีรายงานวิจัยใดที่บ่งชี้ว่าการทานเนื้อไก่ทำให้ก่อมะเร็ง รวมถึงงานวิจัยชิ้นนี้ก็ไม่สามารถระบุความชัดเจนในประเด็นนี้ จึงขอให้ประชาชนสบายใจว่าการรับประทานเนื้อไก่ยังมีความปลอดภัย หากประชาชนพบข่าวหรือข้อมูลใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรมปศุสัตว์ สามารถแจ้งหรือขอข้อมูลที่ถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ในพื้นที่ หรือแจ้งสายด่วนของกรมปศุสัตว์ 063-225-6888 หรือ ผ่านแอพพลิเคชั่น DLD 4.0 ได้ทันที Khaosod online 10.09.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร