Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ศิริราชพบวิธีใหม่เพิ่มเกล็ดเลือด 30 เท่า จากเซลล์ต้นกำเนิด  

นักวิจัยคณะแพทย์ศิริราช ศึกษาพบวิธีเพิ่มเกล็ดเลือด ผ่านการเติมสารกระตุ้นในเซลล์ต้นกำเนิดขณะเป็นตัวอ่อน ในห้องแล็บ ช่วยเพิ่มปริมาณเกล็ดเลือดถึง 30 เท่า หวังลดปัญหาต้องใช้เลือด 4-6 คน เพื่อให้ได้เกล็ดเลือด 1 ถุง ดร.จันทร์เจ้า ล้อทองพานิชย์ ศูนย์ความเป็นเลิศทางงานวิจัยสเต็มเซลล์ของศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า เกล็ดเลือดคือส่วนประกอบสำคัญที่ช่วยทำให้เลือดแข็งตัวเมื่อมีบาดแผล ช่วยอุดรอยฉีกขาดของเส้นเลือด และรักษาสภาวะสมดุลของร่างกาย ปัจจุบันมีผู้ป่วยจำนวนมากที่ต้องได้รับเกล็ดเลือดเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน เนื่องจากไขกระดูกสร้างได้น้อย เช่น ผู้ป่วยธาลัสซีเมียบางชนิด หรือผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือผู้ที่ได้รับการเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก เป็นต้น แต่เกล็ดเลือด 1 ถุงที่จะให้ผู้ป่วย ต้องใช้เลือดจากผู้บริจาค 4 - 6 ราย มาคัดแยก ดังนั้น จำนวนผู้บริจาคเป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อปริมาณเกล็ดเลือดคงคลังของโรงพยาบาลต่างๆ ดร.จันทร์เจ้า กล่าวว่า นอกจากนี้ ผู้ป่วยที่ได้รับเกล็ดเลือดรวมจะมีโอกาสได้รับเซลล์เม็ดเลือดขาวแปลกปลอมจากผู้บริจาคเข้ามากระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันให้ต่อต้านเกล็ดเลือดบริจาคด้วย เราจึงเริ่มทำงานวิจัย ซึ่งได้รับทุนวิจัย ลอรีอัล ประเทศไทย เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ด้วยความคิดที่ว่า ถ้าเราสามารถผลิตเกล็ดเลือดได้ปริมาณมากในห้องปฏิบัติการ น่าจะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ โดยกระบวนการวิจัยที่เราคิดค้นขึ้นนี้ ยังไม่เคยมีใครทำมาก่อน โดยเรานำการสื่อสารระหว่างเซลล์ชนิดหนึ่งมาใช้เป็นกลไกในการกระตุ้นให้เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดเจริญไปเป็นเกล็ดเลือด "จากการศึกษาวิจัยของเราพบว่า ถ้าเติมสารกระตุ้นตัวหนึ่งเข้าไปในระยะที่เซลล์ต้นกำเนิดยังเป็นตัวอ่อนอยู่ จะทำให้ได้เกล็ดเลือดเพิ่มขึ้นจากระดับปกติถึง 30 เท่า โดยเป็นผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ และยื่นขอรับการรับรองสิทธิบัตรเกี่ยวกับกระบวนการวิจัยนี้เรียบร้อยแล้ว“ ดร.จันทร์เจ้า กล่าวและว่า การวิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อให้ได้เกล็ดเลือดปริมาณมากเพียงพอและราคาที่เข้าถึงได้สำหรับทุกคน ยังต้องใช้เวลาอีกสักระยะ โดยในระหว่างนี้ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมได้โดยการช่วยกันบริจาคเลือด สเต็มเซลล์ หรือเกล็ดเลือด เพื่อช่วยกันบรรเทาภาวะปัญหาการขาดแคลนเลือดและผลิตภัณฑ์จากเลือด เมื่อผู้ป่วยได้รับเกล็ดเลือดเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงทีก็จะส่งผลให้สุขภาพดีขึ้น ลดภาระการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ลดภาระค่าใช้จ่าย และยังช่วยเปิดโอกาสให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ประเทศเพื่อนบ้าน เกิดการจ้างงาน ซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อสังคมและประเทศชาติได้ ทั้งนี้ ธนาคารเลือดโรงพยาบาลศิริราช เปิดรับบริจาคโลหิต ในวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 – 18.00 น. วันเสาร์ – อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 08.30 – 16.00 น. ณ ตึก 72 ปี ชั้น 3 โรงพยาบาลศิริราช โดยผู้บริจาคต้องมีน้ำหนัก 48 กิโลกรัมขึ้นไป และพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0-2419-8081 ต่อ 123, 128 นอกจากนี้ยังมีหน่วยรับบริจาคเลือดเคลื่อนที่เป็นหมู่คณะในวัน และเวลาราชการ ติดต่อโทร. 0-2419-7492 ต่อ 110 Manager online 15.09.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร