Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

พาทัวร์หัวใจด้วยเทคโนโลยีวีอาร์   

เทคโนโลยีเสมือนจริง หรือ Virtual Reality เริ่มมีบทบาทสำคัญในด้านการแพทย์มากขึ้น อย่างล่าสุด ทีมแพทย์ร่วมมือกับนักพัฒนาเทคโนโลยีวีอาร์ สร้างหัวใจเสมือนจริง เพื่อสร้างความเข้าใจกับผู้ป่วยและครอบครัวในการผ่าตัดหัวใจ โบ อาย และเด็กชายโอไรออน อาย วัย 12 ปี เข้าใจส่วนต่างๆ ของหัวใจมนุษย์เป็นอย่างดี หลังจากที่ลูกชายของเขาป่วยเป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด กำลังเข้ารับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดเป็นครั้งที่ 4 เพราะครั้งนี้ ทั้งสองคนจะได้เข้าไปท่องหัวใจบนโลกเสมือนจริงเป็นครั้งแรก ผ่านเทคโนโลยี Virtual Reality หรือ VR ที่เรียกว่า Stanford Virtual Heart พัฒนาโดยแพทย์ด้านหัวใจ จากโรงพยาบาลเด็ก Lucile Packard ของมหาวิทยาลัย Stanford ที่ร่วมมือกับ Lighthaus บริษัทด้านเทคโนโลยี VR เนรมิตหัวใจเสมือนจริงให้เห็นแบบคมชัด 360 องศา ในการทัวร์หัวใจของ Stanford Virtual Heart จะให้สวมใส่แว่นตา VR ซึ่งจะสามารถมองเห็น และยังจับต้องด้วยการหยิบแยกชิ้นส่วนภายในหัวใจเสมือนจริงนี้ มาสังเกตและทำความเข้าใจการทำงานของส่วนต่างๆ ของหัวใจได้อย่างชัดเจนขึ้น นพ. เดวิด แอเซลรอด แพทย์โรคหัวใจเด็กที่ดูแลโอไรออนมาตั้งแต่กำเนิด และเป็นที่ปรึกษาของ Stanford Virtual Heart บอกว่า แรกเริ่มเดิมที เทคโนโลยีนี้มีขึ้นเพื่อใช้สอนนักศึกษาแพทย์ ก่อนที่จะพัฒนามาเป็นทัวร์หัวใจให้กับผู้ป่วยเด็ก เพื่ออธิบายภาวะโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด และอธิบายขั้นตอนการรักษาด้วยการผ่าตัดอันซับซ้อนที่จะเกิดขึ้นให้คนไข้และครอบครัวได้เข้าใจ เทคโนโลยี VR ได้ช่วยทำให้โอไรออนและคุณพ่อเห็นภาพที่ชัดเจนของหัวใจในแบบที่พิเศษกว่าคำอธิบายทางการแพทย์ใดๆ โบ อาย พ่อของโอไรออน บอกหลังจากได้เห็นหัวใจเสมือนจริงว่า เขาไม่เคยทราบมาก่อนว่าลิ้นหัวใจแต่ละส่วนมีลักษณะที่แตกต่างกันขนาดไหน ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าทึ่งมากที่เราได้เห็นภายในหัวใจ และช่วยให้เขาเห็นภาพของสิ่งที่โอไรออนต้องเผชิญในการผ่าตัดด้วย สำหรับเด็กและครอบครัวที่ต้องรับมือกับการผ่าตัดหัวใจแล้ว ทัวร์หัวใจ Stanford Virtual Heart นี้ ไม่เพียงแต่สร้างความเข้าใจ แต่ยังทำให้พวกเขาอุ่นใจได้มากขึ้นในการรักษา และช่วยให้คนรอบข้างดูแลบุตรหลานผู้เป็นที่รักเหมือนดวงใจได้ดียิ่งขึ้น Voice of America 20.09.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร