Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

วว.ถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์บรรเทาปวดไมเกรนให้ภาคเอกชน  

วว. ถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการปวดไมเกรนจากสารสกัดดอกเก๊กฮวยให้ภาคเอกชนผลิตในเชิงพาณิชย์ หวังเป็นทางเลือกในการลดอาการปวดจากโรคไมเกรน โดยไม่ต้องใช้ยาที่มีผลข้างเคียงสูง นักวิทย์ฯรุ่นใหม่ ประสานเสียง มั่นใจงานวิจัยขั้นแนวหน้า ผลักดันไทยมีบทบาทในวงการเทคโนโลยีโลก เชื่ออนาคตมีนวัตกรรมเป็นของตัวเอง ในงาน CEO Innovation Forum 2019 จัดโดย สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) มีการจัดเวทีประชันความคิดของนักวิจัยในหัวข้อ “The Next Gen for the Future” เมื่อวันที่ 26 กันยายน ณ เมืองทองธานี ดร.ข้าว ต้นสมบูรณ์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) กล่าวว่า จะดีแค่ไหนถ้าคนไทยสามารถคิดค้น และผลิตนวัตกรรมขึ้นมาและได้รับการยอมรับในระดับโลก เราคงรู้สึกภูมิใจ เหมือนกับที่ เกาหลี ญีปุ่น อเมริกา ที่มีผลิตภัณฑ์มากมายที่เกิดจากการคิดค้นและได้รับการยอมรับของคนทั่วโลก “ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าบ้านเราทำไม่ได้ แต่ผู้นำต้องเปลี่ยนมายด์เซ็ท ทัศนคติ ให้ความสำคัญกับงานวิจัย และใจกว้างพอที่จะอดทนรอ แม้เงินลงทุนน้อยแต่ไม่ได้หมายความว่าสู้เขาไม่ได้ ปลาใหญ่เล็กไม่สำคัญ อยู่ที่ว่าใครว่ายเร็วกว่า” ดร.วศะพร จันทร์พุฒ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสรตร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศไทยได้เปรียบด้านความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นเจ้าของวัตถุดิบและขายให้กับต่างชาติในราคาถูก แต่เรากลับซื้อส่วนผสมกลับมาในราคาที่แพงมาก “คำถามคือทำไมเราไม่ผลิตเอง เรามีนักวิจัยที่เก่ง มีวัตถุดิบเอง แต่ขาดจุดเชื่อมโยงและการสนับสนุนที่จะช่วยผลักดันให้ไทยมีเทคโนโลยีเป็นของตัวเอง ซึ่งความได้เปรียบเหล่านี้สามารถต่อยอดโดยเฉพาะด้านอาหารและการแพทย์จีโนมิกส์ ที่สามารถจะนำพาประเทศไทยพ้นกับดักรายได้ปานกลางได้” ดร.วรวัฒน์ มีวาสนา สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี กล่าวถึงการวิจัยขั้นแนวหน้าที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการผลักดันให้ไทยมีบทบาทในวงการเทคโนโลยีและนวัตกรรมของโลก มีเทคโนโลยีเป็นของตัวเอง โดยสิ่งเหล่านี้เป็นการวางแผนอนาคตเพื่อประเทศไทย ให้เรามีชีวิตที่ดีในอนาคต มีพลังงานสะอาด การแพทย์ก้าวหน้าและเข้าถึงได้ มีความมั่นคงทางอาหาร เป็นต้น ดร.ธนภัทร ดีสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พูดถึงเทคโนโลยีด้านควอนตัมที่สามารถพลิกโฉมวงการวิทยาศาสตร์ โดยสามารถนำมาใช้ทั้งด้านคอมพิวเตอร์ พลังงาน วัสดุ การแพทย์ แม้แต่อุตสาหกรรมอวกาศ ซึ่งเราต้องเริ่มทันทีเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต “อีกทั้งประเทศไทยเองก็มีความสามารถในการแข่งขันได้ในระดับโลก สิ่งที่อยากฝากไว้คือ เรื่องที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีไม่ใช่เรื่องไกลตัว นักวิทย์ฯไทยก็เก่งหลายคน หากได้รับความร่วมมือจากภาครัฐ เอกชน รวมถึงนักวิจัยเองก็จะช่วยผลักดันให้เกิดขึ้นจริงได้” Dailynews 25.09.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร