Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

หวั่น "โรคฉี่หนู" ระบาดหลังน้ำท่วม รักษาช้า เสียชีวิต กรมวิทย์พร้อมตรวจเชื้อรู้ผล 48 ชม.  

กรมวิทย์ ห่วงน้ำท่วมลด "โรคฉี่หนู" ระบาด หวั่นรักษาช้า เสียชีวิต เหตุอาการระยะแรกคล้ายโรคติดเชื้ออื่น ทั้งไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก พร้อมรับตรวจยืนยันเชื้อทางแล็บ รู้ผลใน 48 ชม. พร้อมทำชุดทดสอบเบื้องต้นกรณีมีโรคระบาด รู้ผลใน 10-15 นาที ช่วยรักษาได้ทันที วันนี้ (29 ก.ย.) นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวว่า หลังปัญหาน้ำท่วมเริ่มลดระดับลง โรคที่ต้องระวังหลังน้ำลด คือ โรคเลปโตสไปโรสิสหรือโรคฉี่หนู ซึ่งการวินิจฉัยโรคฉี่หนู สามารถส่งเลือดหรือปัสสาวะผู้ป่วยมาตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติ (แล็บ) ได้ โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีห้องแล็บพร้อมให้บริการตรวจหาเชื้อโรคฉี่หนู ด้วยการหาระดับภูมิคุ้มกัน สารพันธุกรรม และเพาะแยกเชื้อทั้งหมด 3 วิธี ได้แก่ วิธี MAT วิธี IFA และวิธี PCR ใช้ระยะเวลาตรวจวินิจฉัยและรู้ผลไม่เกิน 48 ชั่วโมง หรือ 2 วันทำการหลังจากรับตัวอย่างเข้าห้องแล็บ นพ.โอภาส กล่าวว่า นอกจากนี้ ยังมีศูนย์วิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ในส่วนภูมิภาคทั้ง 14 แห่งทั่วประเทศที่พร้อมให้บริการตรวจโรคฉี่หนูเบื้องต้น ก่อนที่จะส่งมาตรวจยืนยันโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์อีกครั้ง เพื่อรองรับเตรียมพร้อมในกรณีที่อาจเกิดโรคระบาดขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ยังได้ผลิตชุดตรวจโรคเลปโตสไปโรสิส ด้วยวิธี IFA สามารถทราบผลเบื้องต้นได้ภายใน 3 ชั่วโมง ชุดตรวจโรคเลปโตสไปโรสิส Leoptospira igM , Leptospira Ab สามารถทราบผลเบื้องต้นได้ภายใน 15 นาที และชุดตรวจโรคเลปโตสไปโรสิสเบื้องต้น Lepto Latex Test สามารถทราบผลเบื้องต้นได้ภายใน 5-10 นาที ทำให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจวินิจฉัยโรคขั้นต้นได้ และแพทย์สามารถรักษาผู้ป่วยได้ทันท่วงที “โรคฉี่หนู เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่มีอันตรายร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต มีสาเหตุมาจากเชื้อ Leptospira interrogans จากการสัมผัสเลือดหรือปัสสาวะ ของสัตว์รังโรคโดยตรง เช่น โค กระบือ สุกร สุนัข แมว หนู อีกทั้งผู้ป่วยยังสามารถติดเชื้อผ่านทางรอยแผล รอยขีดข่วน รอยถลอกบริเวณผิวหนัง เยื่อบุตา จมูก ปาก ที่เกิดจากการทำกิจกรรมในพื้นที่ชื้นแฉะ มีน้ำท่วมขัง หรือติดเชื้อ จากการกินอาหารหรือดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อเข้าไป ส่วนสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตมาก เพราะระยะแรกจะแสดงอาการไม่เฉพาะเจาะจง เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสีย คล้ายกับโรคไข้หวัดหรือโรคติดเชื้ออื่นๆ เช่น ไข้เลือดออก การตรวจวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องและรวดเร็วจะช่วยให้แพทย์สามารถให้การรักษาผู้ป่วยได้ถูกต้องและปลอดภัย” นพ.โอภาส กล่าว Manager online 29.09.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร