Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อธิบดี คพ.แจงฝุ่น PM 2.5 ช่วงนี้เกิดจากลมหนาวหลงฤดู คาดมรสุมจากฟิลิปปินส์ช่วยบรรเทา  

อธิบดี คพ.แจงฝุ่น PM 2.5 เกิดจากลมหนาวหลงฤดู ย้ำฝุ่นไม่ได้มาพร้อมอากาศเย็นจากจีน แต่ยังเกิดจากรถยนต์ที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ โดยมีอากาศเย็นมากดทับปิดไว้ จนฝุ่นสะสมมาตั้งแต่ 24 ก.ย. คาดมรสุมจากฟิลิปปินส์ช่วยบรรเทา ก่อนรับมืออีกระลอกช่วงปลายปี วันนี้ (1 ต.ค.) นายประลอง ดำรงไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กล่าวในงานแถลงข่าวการรับมือฝุ่น PM 2.5 ของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ว่า จากสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ที่เพิ่มขึ้นในช่วงนี้นั้น พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มีการเรียกประชุมเมื่อวันที่ 30 ก.ย.ที่ผ่านมา ตนได้ชี้แจงสถานการณ์เรื่องนี้ต่อรัฐมนตรีในหลายกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ทั้งกระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) และกรุงเทพมหานคร (กทม.) โดยยืนยันว่าช่วงนี้ยังไม่ถึงเวลาที่จะเกิดสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 แต่สาเหตุที่เกิดขึ้นมานั้นเรียกว่าเป็น “ฤดูหนาวหลงฤดู” โดยกรมอุตุนิยมวิทยาระบุว่า เกิดจากความหนาวเย็นที่แผ่ปกคลุมมาจากประเทศจีน นายประลองกล่าวว่า ส่วนที่มีการสอบถามกันว่าอากาศหนาวเย็นจากจีนนั้นได้พาฝุ่น PM 2.5 มาด้วยหรือไม่ ข้อเท็จจริงคือไม่ใช่ หากพูดเช่นนี้อาจกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ แต่กระบวนการในการเกิดฝุ่น PM 2.5 นั้น มาจากการที่เรายังใช้รถยนต์กันอยู่ โดยเฉพาะเครื่องยนต์ดีเซลที่มีการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ที่ทำให้เกิดฝุ่น PM 2.5 เนื่องจากรถเก่าและไม่มีการปรับสภาพรถ ทั้งนี้ ฝุ่น PM 2.5 มีการเกิดขึ้นทุกวัน 365 วัน แต่ที่ผ่านอากาศจะโปร่ง ระบายได้ ทำให้ฝุ่นลอยตัวสูง ไม่สะสม แต่จากอากาศหนาวเย็นจากประเทศจีนที่แผ่นมาตั้งแต่เมื่อวันที่ 24 ก.ย.ที่ผ่านมา ส่งผลให้อากาศเย็นลงมาปิดทับ การระบายตัวของฝุ่นในอากาศจึงไม่ดี และเกิดการสะสมขึ้น ทำให้ค่าฝุ่นค่อยๆ สูงขึ้น โดยวันที่ 26-27 ก.ย.ที่ผ่านมา ค่าฝุ่น PM 2.5 จึงสูงขึ้นมากกว่า 7 สถานี วันที่ 29 ก.ย.ขึ้นมาเป็น 15 สถานี วันที่ 30 ก.ย.ขึ้นเป็น 35 สถานี แต่ในวันที่ 1 ต.ค.นี้ ลดลงเหลือ 33 สถานี “การรายงานของกรมควบคุมมลพิษ และ กทม.จะรายงานค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่ใช่ทุกชั่วโมง แต่ก็มีการติดตามดูทุกเกือบ 2 ชั่วโมง จึงเห็นว่าตั้งแต่ช่วง 4 ทุ่มของเมื่อคืนจนถึงเช้าวันนี้ ค่าฝุ่นได้ลดลงมาเรื่อยๆ โดยกรมอุตุฯ บอกว่าจะมีฝนตกโดยมรสุมจากประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งจะช่วยหอบฝุ่นขึ้นชั้นบรรยากาศ อากาศเย็นจางลง ฝุ่นที่สะสมจะลอยขึ้นไป ถ้าเป็นไปตามสถานการณ์ที่กรมอุตุฯ รายงาน ตัวเลขฝุ่นก็จะลดลงจนกลับสู่ปกติแต่จะกลับมาเจออีกในช่วง ธ.ค.-ม.ค. ซึ่งจะมีการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถึงมาตรการที่จะมีการเสนอต่อคณะรัฐมนตรี (ครม.) ในวันนี้ด้วย” นายประลองกล่าว Manager online 1 ตุลาคม 2562

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร