Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

686 องค์กร กดดันหนัก 8-9 ต.ค.นี้ ขอคำมั่นเจ้ากระทรวงทรัพย์ฯ-เกษตรฯ “แบน 3 สารพิษร้าย”  

เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (ไทยแพน) โพสต์ชวนประชาชนและสื่อมวลชนร่วมขบวนแสดงพลังไปกับตัวแทนเครือข่ายสนับสนุนการแบนสารพิษที่มีอันตรายร้ายแรง 686 องค์กร โดยเตรียมตัวเข้าพบตัวแทนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากพรรคชาติไทยพัฒนา และกระทรวงเกษตรฯ จากพรรคประชาธิปัตย์ ในฐานะที่ทั้งสองกระทรวงมีตัวแทนนั่งอยู่ในคณะกรรมการวัตถุอันตรายซึ่งเป็นผู้ชี้ขาดว่าจะแบนหรือไม่แบนการใช้สารพิษกำจัดศัตรูพืชอันตราย - พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต วันนี้ (อังคารที่ 8 ตุลาคม 2562 เวลา 16.00 น.) ขอพบผู้อำนวยการพรรคชาติไทยพัฒนา ในฐานะที่นายวราวุธ ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำกับดูแลกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการวัตถุอันตราย ทั้งนี้เพื่อนำเสนอปัญหาและข้อเสนอในการแก้ปัญหาการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ได้ปนเปื้อนในผืนดินและแหล่งน้ำ จนสร้างผลกระทบต่อประชาชนทั้งในท้องถิ่นและประชาชนทั่วไป ส่วนวันพรุ่งนี้ (พุธที่ 9 ตุลาคม 2562 เวลา 14.00 น.) เครือข่ายฯจะเดินทางเข้าพบ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เพื่อรับฟังความคืบหน้าในการดำเนินการยกเลิกสารพิษร้ายแรง ตามที่รมว.เกษตรฯ ได้แจ้งต่อประชาชน พร้อมนำเสนอแนวทางการสร้างทางเลือกเพื่อส่งเสริมระบบเกษตรกรรมที่ยั่งยืน มีมาตรการในการสนับสนุนเกษตรกรที่จำเป็นต้องใช้สารเคมีให้ปรับเปลี่ยนไปสู่ระบบเกษตรกรรมและอาหารที่ปลอดภัย "สุริยะ" ยันขอรักษาประโยชน์ประชาชนเป็นที่ตั้ง ตามที่มีรายงานข่าวว่า นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แถลงถึงจุดยืนการยกเลิกการใช้สารเคมีวัตถุอันตรายทางการเกษตร 3 สาร พาราควอต ไกลโฟเซส คอร์ไพริฟอส และจะขอเชิญนายอนุทิน ชาญวีรกุล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ทุกท่านพร้อมแบน 3 สาร มาแถลงข่าวร่วมกันนั้น “ขอให้บอกพร้อมแถลงจุดยืนร่วม 3 รมต. ทุกที่ทุกเวลา” นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า ผมขอตอบรับและยินดีอย่างยิ่ง พร้อมทุกที่ ทุกเวลาขอให้นัดมา เนื่องจากโดยส่วนตัวต้องการหาทางออกเรื่องนี้อยู่แล้ว เพราะมีผลกระทบด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพี่น้องประชาชน แต่ก็ต้องทำให้พี่น้องเกษตรกรอยู่ได้ด้วย ซึ่งตลอดเวลาผมก็ได้ทำงานร่วมกันกับทุกฝ่ายอยู่แล้ว เมื่อวานนี้ (7 ตุลาคม 2562) คณะทำงานเพื่อพิจารณาความคิดเห็นของส่วนรัฐ ผู้นำเข้า เกษตรกร และผู้บริโภค ตามบัญชานายกรัฐมนตรี มีมติเอกฉันท์แบบเปิดเผย ให้ยกระดับสารเคมีทั้ง 3 ชนิด เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 คือ ห้ามนำเข้า จำหน่าย และใช้ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2562 น.ส.มนัญญา ไทยเศรษฐ์ รมช.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยืนยันเตรียมดันต่อเข้าที่ประชุมคณะกรรมการวัตถุอันตรายพิจารณาเห็นชอบโดยเร็ว ทั้งนี้คณะทำงานเพื่อพิจารณาความคิดเห็นของส่วนรัฐ ผู้นำเข้า เกษตรกร และผู้บริโภค ต่อการยกเลิกคลอร์ไพริฟอส พาราควอต และไกลโฟเซต “ ที่ รมช.มนัญญา นั่งหัวโต๊ะเป็นประธาน โหวตมติเอกฉันท์แบบเปิดเผย ให้ยกระดับสารเคมีทั้ง 3 ชนิด เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 คือ ห้ามนำเข้า จำหน่าย และใช้ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2562 นี้ ซึ่งจะนำข้อสรุปการประชุมครั้งนี้เสนอต่อนายกรัฐมนตรีภายในสัปดาห์นี้ ก่อนเสนอคณะกรรมการวัตถุอันตรายพิจารณาโดยเร็ว คาดไม่เกิน 27 ตุลาคมนี้ พร้อมระบุกรรมการวัตถุอันตรายที่เป็นสัดส่วนของกระทรวงเกษตรฯ จะมีการโหวตแบบเปิดเผยและยึดมติคณะทำงานชุดนี้ ไม่กังวลคณะกรรมการวัตถุอันตรายเห็นต่าง เพราะเคยระบุไว้ว่า หากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนออย่างไรก็จะเห็นตามนั้น รมช.มนัญญา.ระบุว่ากรมวิชาการเกษตร ได้เตรียมทางเลือกทดแทน ที่เป็นวิธีธรรมชาติและการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรเพื่อกำจัดศัตรูพืชช่วยเหลือเกษตรแล้ว โดยหากคณะกรรมการวัตถุอันรายมีมติเห็นชอบให้ยกเลิก สต๊อกสารเคมีที่เหลือตามร้านค้าต่างๆ ต้องส่งคืนให้บริษัทเอกชนที่นำเข้า โดยไม่กังวลหากโดนเอกชนฟ้อง และจะไม่ทอดทิ้งข้าราชการที่ทำเพื่อประชาชน Manager online 8.10.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร