Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

“สุวิทย์” ร่วมประชุมเวทีวิทยาศาสตร์ระดับรัฐมนตรีที่ญี่ปุ่น  

“สุวิทย์” ร่วมประชุมเวทีวิทยาศาสตร์ระดับรัฐมนตรีที่ญี่ปุ่น พร้อมร่วมโต๊ะอาหารเช้ากับ “ชินโซ อาเบะ” เผยบทบาทที่เพิ่มขึ้นของกระทรวงวิทย์ทางด้านอุดมศึกษา และแสดงปาฐกถาพิเศษระหว่างประชุมโต๊ะกลม ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมประชุมประจำปี STS Forum ครั้งที่ 16 (The 16th Annual Meeting of Science and Technology in Society) และการประชุมโต๊ะกลมระดับรัฐมนตรีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 16 ระหว่างวันที่ 5-7 ต.ค.62 ณ เมืองเกียวโต ญี่ปุ่น ระหว่างการประชุมในครั้งนี้ ดร.สุวิทย์ได้รับเชิญเข้าร่วมรับประทานอาหารเช้ากับนายชินโซ อาเบะ (Shinso Abe) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นและผู้บริหารจากประเทศต่างๆ เมื่อเช้าวันที่ 6 ต.ค.62 ตามเวลาท้องถิ่น พร้อมกล่าวถึงบทบาทที่เปลี่ยนไป โดยเมื่อปี 2561 ได้เข้าร่วมในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ปีนี้ได้เข้าร่วมในฐานะกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งรวมการอุดมศึกษาและหน่วยงานให้ทุนวิจัยเข้ามา ดร.สุวิทย์กล่าวว่ากระทรวงใหม่นี้เป็นโอกาสสำคัญที่จะได้ร่วมงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมเข้ากับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาสังคมและความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ โดยกระทรวงใหม่นี้พุ่งเป้าไปที่เรื่องการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย ซึ่งได้เรียนรู้มาจากญี่ปุ่น ทั้งนี้มีความคาดหวังว่าจะเกิดความร่วมมือกับญี่ปุ่นและชาติอื่นๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายสังคมที่ยั่งยืนเพื่ออนาคตสำหรับคนรุ่นต่อไป ที่สำคัญรัฐมนตรีกระทรวงการอุดมศึกษาฯ ยังได้รับเชิญให้เป็นผู้นำเสนอ (speaker) ในช่วง Plenary Session ซึ่งเป็นเวทีที่สำคัญของการประชุม STS Forum โดยได้นำเสนอในหัวข้อการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม และยังได้ร่วมนำเสนอหัวข้อเพื่อการอภิปรายระหว่างการประชุมโต๊ะกลมระดับรัฐมนตรีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีรัฐมนตรีด้านนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปิดอภิปราย สำหรับ STS Forum นั้น เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของญี่ปุ่น มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานเพื่อสร้างเครือข่ายและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างผู้นำด้านวิทยาศาสตร์และผู้บริหารประเทศ ผู้บริหารองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ เช่น นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับความต้องการปละผลกระทบจากการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อสังคม โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลญี่ปุ่นเป็นหลัก และจัดประชุมประจำปีในเดือน ต.ค. ณ ประเทศญี่ปุ่น ต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 16 แล้ว Manager online06.10.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร