Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ผุด “สกิลแมปปิง” ตอบโจทย์เปลี่ยนคนภาคเกษตรสู่อุตสาหกรรม  

“สมคิด” เรียกอธิการบดีทั่วประเทศ รับมือดิสรัปชัน ผุด “สกิลแมปปิง” ตอบโจทย์แรงงานในระบบ คนที่ต้องการเปลี่ยนงาน สู่ภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ อว. ดึง 10 บริษัทยักษ์ใหญ่ร่วมปรับปรุงและพัฒนาทักษะ การเพิ่มทักษะ และสร้างทักษะใหม่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยว่า ในวันจันทร์ที่ 28 ต.ค.นี้ นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี จะมาเป็นประธานการประชุม เรื่อง การผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ เพื่อตอบโจทย์กำลังคนในวัยทำงานในระบบ คนที่ต้องการเปลี่ยนงาน รวมทั้งรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดการว่างงานจำนวนมาก "ในการประชุมครั้งนี้จะมีอธิการบดีจากทั่วประเทศ ทั้งรัฐและเอกชน รวมทั้งบริษัทเอกชนรายใหญ่ เพื่อที่จะหารือร่วมกันถึงการปรับปรุงและพัฒนาทักษะ การเพิ่มทักษะ และการสร้างทักษะใหม่ โดยภาคเอกชนอาจจะมาร่วมจัดทำหลักสูตรในอนาคต เพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน เช่น ภาคเอกชนอาจจะทำหลักสูตรเอง แต่ให้ อว. เข้าไปส่งเสริมสนับสนุน หรือถ้าภาคเอกชนทำไม่ได้ก็ให้มหาวิทยาลัยเข้าช่วยทำ หรือมหาวิทยาลัยทำหลักสูตรเอง ซึ่งหลักสูตรที่จะทำให้จะทั้งแบบที่มีปริญญากับไม่มีปริญญาก็ได้" ดร.สุวิทย์ กล่าวอีกว่า ที่สำคัญในการประชุมวันที่ 28 ต.ค. อีกประเด็นหนึ่ง คือการสำรวจความต้องการทักษะอาชีพ (Skill Mapping) เพื่อที่จะได้จัดทำหลักสูตรให้สอดคล้อง โดยเฉพาะหลักสูตรที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งจะมีอยู่ 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มที่ไม่จำเป็นต้องมีปริญญา แต่ต้องพัฒนาไปสู่เกษตร 4.0 ให้ได้ 2. กลุ่มอุตสาหกรรม โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้าไปใช้ในกลุ่มคนทำงาน เช่น วิศวกร ช่างฝีมือ ซึ่งต้องพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 และ 3.กลุ่มภาคบริการ เช่น การท่องเที่ยวแบบสร้างสรรค์ ซึ่งจะต้องพัฒนาไปสู่การบริการ 4.0 เช่นกัน ทั้ง 3 กลุ่มจะให้มหาวิทยาลัยเข้ามาจับคู่ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎจะเน้นในเรื่องภาคบริการและความโดดเด่นของท้องถิ่น อย่างการยกระดับความสามารถด้านภาษา ยกระดับการท่องเที่ยว ยกระดับการเกษตร ขณะที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและอีก 3 พระจอมเกล้า จะเน้นในเรื่องของปัญญาประดิษฐ์หรือ AI เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยกลุ่มใหญ่ จะเน้นในเรื่องของการรับมือต่อกระแสดิสรัปชัน (Disruption) ซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาทักษะ การเพิ่มทักษะ และการสร้างทักษะใหม่ “ทั้งนี้ การดำเนินงานทั้งหมดเพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหาแรงงานว่างงานในระบบ แรงงานที่ต้องการเปลี่ยนงาน และอาชีพในอนาคต ซึ่งตนได้ประสานกับ 10 บริษัทรายใหญ่ เช่น โตโยต้า ปตท. เอสซีจี ปูนซิเมนต์ไทย บางจาก มิตรผล เอไอเอส และกลุ่มธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น เพื่อให้มาทำงานร่วมกับมหาวิทยาลัยในการพัฒนาคนในยุคดิสรัปชันนี้” ดร.สุวิทย์กล่าว Manager online 24.10.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร