Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ทำแผน “สมาร์ทฟาร์มเมอร์” ทุ่ม 500 ล้านนำ นศ.ลงไปช่วยเกษตรกร  

“สุวิทย์ เมษินทรีย์” เรียกประชุมสภาเกษตรกรแห่งชาติ 76 จังหวัดทำแผนพัฒนาสู่ “สมาร์ทฟาร์มเมอร์” ทั้งพืชสัตว์เศรษฐกิจยุคปัจจุบัน เช่น ข้าว ยาง มัน ปาล์ม และ ยุคใหม่ เช่น ไผ่ กัญชง จิ้งหรีด นำเทคโนโลยีล้ำสมัย มาใช้พร้อมวิจัยเพื่อความแม่นยำก่อน-หลังเก็บเกี่ยว ลั่นเปลี่ยนระบบการผลิตใหม่ต้องไม่มีของเหลือทิ้ง ทุ่ม 500 ล้านนำนักศึกษาลงไปช่วยเกษตรกรตัวจริง ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยว่า ได้ร่วมประชุมกับสภาเกษตรกรแห่งชาติจาก 76 จังหวัดพร้อมกับ 3 หน่วยงานของ อว. ที่ทำงานเกี่ยวข้องการเกษตรได้แก่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สถาบันสารสนเทศและทรัพยากรน้ำ (สสน.) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และมีนายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติและอดีต รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) รวมทั้งนายองอาจ ปัญญาชาติรักษ์ ที่ปรึกษา รมว.อว. ซึ่งรับหน้าที่สำคัญในการนำเอางานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมของ อว.ลงไปช่วยเหลือพัฒนาเกษตรกรของไทย ทั้งนี้ ดร.สุวิทย์ได้สั่งการให้มีการขยายผลโครงการที่เคยดำเนินการมาแล้วเมื่อครั้งที่ตนเป็น รมว.วิทยาศาสตร์ฯ คือ การช่วยเหลือยกระดับเกษตรกร ผ่านโครงการ 1 ชุมชน 1 นวัตกรรมเกษตร ของ วว. และ ตั้งศูนย์บริหารจัดการน้ำระดับจังหวัด ของ สสนน. การปรับปรุงพันธุ์พืช สร้างระบบสมารทฟาร์มมิ่ง ระบบ IoT และโรงเรือนอัจฉริยะ รวมทั้งโครงการ iTAP ของ สวทช.ที่ให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่เกษตรกร โดยให้มีการนำโครงการทั้งหมดไปขยายผล เชื่อมโยงเข้ากับมหาวิท ยาลัยในพื้นที่ พร้อมจับมือกับทั้งสภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า และ สภาเกษตร ในการทำงานร่วมกัน ดร.สุวิทย์ กล่าวต่อว่า ในการประชุมดังกล่าวได้พบว่า ปัญหาที่พี่น้องเกษตรกรเผชิญอยู่นั้น คือ เรื่องความเหลื่อมล้ำ การที่ยังต้องพึ่งพาฟ้าฝน ขาดแคลนเทคโนโลยีและองค์ความรู้สมัยใหม่ ยังไม่สามารถทำการเกษตรที่มีรายได้สูงแบบประเทศพัฒนาแล้วได้ ซึ่งจะต้องเร่งปรับเปลี่ยนไปสู่การเกษตรแห่งศตวรรษที่ 21 โดยเร็ว โดยมี 2 ประเด็นหลักที่ได้ฝากทางสภาเกษตรไว้ ประเด็นแรก คือ ขอให้สภาเกษตรร่วมกันวางแผนบูรณาการการ เกษตรกับ อว.เพื่อวางนโยบายให้ชัดเจน แก้ปัญหาให้ตรงจุด โดยสะท้อนเสียงจากเกษตรกรตัวจริง เน้นเรื่องเกษตรหมุนเวียน เปลี่ยนการผลิตแบบเส้นตรงให้เป็นวงกลม คือ ไม่มีของเหลือทิ้ง นำทุกอย่างมาใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ให้สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ทำงานวิจัยเชิงระบบของการเกษตรเพื่อให้เห็นภาพการเกษตรของทั้งประเทศ ประเด็นที่สอง ดร.สุวิทย์ขอให้สภาเกษตร ขึ้นรูปแผนการพัฒนาเกษตรกรไปสู่สมาร์ทฟาร์มเมอร์ ทั้งในส่วนของพืชสัตว์เศรษฐกิจยุคปัจจุบัน เช่น ข้าว ยาง มัน ปาล์ม และยุคใหม่ เช่น ไผ่ กัญชง จิ้งหรีด ซึ่งนอกจากการขยายผลจากของเดิม ยังจะต้องมีแผนในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร การรับรองคุณภาพ การวิจัยความรู้ก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การศึกษาตลาดในรูปแบบต่างๆ การขนส่งผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการที่ครบทั้งห่วงโซ่และจะต้องเตรียมแผนการพัฒนาเกษตรกรในขั้นต่อไป ให้ไปสู่การเกษตรแม่นยำที่จะนำเอาเทคโนโลยีล้ำสมัยมาใช้ในการเกษตรแห่งอนาคต “ในปีงบประมาณ 2563 อว.จะมีงบประมาณ 500 ล้านบาท สำหรับการพัฒนาพี่น้องเกษตรกร ด้วยองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม และจะมีการส่งเสริมให้มีโจทย์วิจัยที่ตรงกับปัญหาของพี่น้องเกษตรกร รวมทั้งจะดึงเอาพลังและองค์ความรู้ของนักศึกษาลงไปช่วยแก้ไขปัญหาทางการ เกษตรในพื้นที่จริงอีกด้วย” ดร.สุวิทย์ กล่าว Manager online 26.10.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร