Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สกสว.-สอวช. ระดมสมอง 7 หน่วยทุนวิจัยลดความซ้ำซ้อน  

สกสว. – สอวช. จับมือ 7 หน่วยทุนวิจัย เดินหน้าการทำงานลดความซ้ำซ้อน ประเดิมโรดแมพแรกเพิ่มขีดความสามารถในการขันของประเทศ หนุนงานวิจัยบีซีจี และสร้างเศรษฐกิจสามารถเติบโตไปควบคู่กับสิ่งแวดล้อมยั่งยืน วันนี้ (9 พ.ย.62) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ร่วมกับ สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) จัดประชุม “หารือหน่วยงานบริหารจัดการโปรแกรม (พีเอ็มยู) เรื่องแผน/งาน โครงการสำคัญ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์สำคัญ” เพื่อหารือถึงแนวทางการทำงานออกแบบการสนับสนุนงบประมาณวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เป็นไปตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ สอดรับกับ “นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2563 – 2570” อันประกอบไปด้วย 4 แพลตฟอร์ม 16 โปรแกรม ศาสตราจารย์ นพ.สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) กล่าวว่า ในระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) พีเอ็มยู เป็นกลไกสำคัญในการบริหารงบประมาณวิจัยด้าน โดยหน่วยงานบริหารจัดการโปรแกรมที่ชื่อ “พีเอ็มยู” (PMU มาจากคำว่า Program Management Unit) จำนวน 7 พีเอ็มยู ประกอบด้วย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ( NIA ) สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.) นอกจากนี้ยังมี 3 หน่วยบริหารและจัดการทุนน้องใหม่ในระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่ ดำเนินการภายใต้ สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ประกอบด้วย พีเอ็มยู “A” มาจาก Area - based หรือ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) พีเอ็มยู “B” มาจาก Brain Power, manpower หรือ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) และ พีเอ็มยู “C” มาจาก Competitiveness หรือ หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) โดย ทั้ง 7 หน่วยงานจะทำหน้าที่เป็นหน่วยงานจัดการทุนวิจัย การติดตามและประเมินผลงานวิจัย โดย สกสว. จะไปหนุนเสริมการทำงาน โดยมี ดร.เทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการบริหาร หน่วยบริหารทุนและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทำหน้าดูแลภาพรวมการทำงานของทั้ง 7 พีเอ็มยู ด้าน รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล รองผู้อำนวยการด้านนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ สกสว. เปิดเผยว่า ทุนวิจัยตามกรอบงบประมาณ ววน. ปีงบประมาณ 2564 แบ่งประเด็นและสัดส่วนงบประมาณ เป็น 3 ส่วน คือ ทุนสนับสนุนงานพื้นฐาน แบ่งเป็น 1 . Basic Research Fund & Institutional Capacity Building Fund ที่สนับสนุนทุนแก่โครงการงานวิจัยพื้นฐาน และสร้างความเข้มแข็งของงานวิจัยและการบริหารงานวิจัยของสถาบันความรู้และสถาบันวิจัยในหน่วยงาน สัดส่วน 15 % 2. Basic Function Fund เป็นการจัดสรรงบประมาณตรงไปยังหน่วยงานที่มีภารกิจเฉพาะด้าน ววน. และดำเนินการตามพันธกิจของตนเอง ซึ่งรวมถึงโครงสร้างพื้นฐานด้าน ววน. ระดับชาติ และโครงการริเริ่มสำคัญของประเทศ สัดส่วน 35 % และ ทุนสนับสนุนงานเชิงกลยุทธ เป็นลักษณะ Competitive Funding ที่สนับสนุนทุนแก่หน่วยงานระดับปฏิบัติโดยต้องเป็นการทำวิจัยที่เน้นตอบยุทธศาสตร์และแผนด้าน ววน. ของประเทศ สัดส่วน 50 % ทั้งนี้ข้อสรุปการประชุมวันนี้มุ่งเน้นถึงการโปรแกรมการสนับสนุนทุนวิจัยภายใต้ประเด็นอาทิ บีซีจี การพัฒนาเศรษฐกิจที่คู่ขนาดไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม โปรแกรมเรื่องความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ฯลฯ เพื่อวางรากฐานแนวทางการจัดสรรงบและอุดหนุนทุนวิจัยไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อน โดยมีแต่ละพีเอ็มยูแบ่งขอบเขตหน้าที่การทำงาน โปรแกรมการวิจัยที่สนับสนุนทุนวิจัยอย่างชัดเจน Dailynews 9.11.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร