Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

งานวิจัยชี้ 'ออกกำลังกายแบบนักบินอวกาศ' อาจช่วยเยียวยาผู้ป่วยมะเร็ง   

รายงานการวิจัยชิ้นใหม่ที่ตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์ Cell ชี้ว่า โปรแกรมการออกกำลังกายแบบที่องค์การอวกาศสหรัฐฯ หรือ นาซ่า (NASA) ใช้กับนักบินอวกาศ อาจเป็นประโยชน์ในการเยียวยาผู้ป่วยมะเร็งได้ ตามรายงานของ CNN รายงานการศึกษาโดยนักวิจัยที่ศูนย์มะเร็ง Memorial Sloan Kettering Cancer Center ในนิวยอร์ก ชี้ว่า โปรแกรมการออกกำลังกายที่นักบินอวกาศของนาซ่าใช้ ทั้งในช่วงก่อน-หลัง และระหว่างที่อยู่ในอวกาศ อาจนำมาปรับใช้กับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็ง โดยอาจจะช่วยลดผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็งนั้น นักวิจัยใช้วิธีตรวจสอบผลกระทบที่มีต่อร่างกายของนักบินอวกาศหลังจากที่ต้องใช้ชีวิตอยู่ในสถานีอวกาศนานกว่า 6 เดือน โดยพบว่าสภาพร่างกายของนักบินเหล่านั้นจะคล้ายกับสภาพร่างกายของผู้ป่วยมะเร็งที่อยูระหว่างการรักษาด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น เคมีบำบัด การสร้างภูมิคุ้มกัน หรือการรักษาแบบตรงจุด นักวิจัย เจสสิก้า สก็อตต์ ระบุว่าทั้งนักบินที่เพิ่งกลับจากอวกาศและผู้ที่เข้ารับการบำบัดมะเร็งต่างมีมวลกล้ามเนื้อลดลง มวลกระดูกลดลง เลือดจาง ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ และการทำงานของหัวใจและหลอดเลือดเปลี่ยนไป นอกจากนั้น นักบินอวกาศจะมีภาวะที่เรียกว่า "Space fog" ซึ่งหมายถึงอาการหลงลืมเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือไม่สามารถเพ่งสมาธิไปที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน ซึ่งคล้ายกับอาการของผู้บำบัดมะเร็งที่เรียกว่า "chemo brain" ที่ผ่านมา องค์การอวกาศสหรัฐฯ พยายามลดผลกระทบของอาการผิดปกติทางกายภาพนี้ ด้วยการจัดโปรแกรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทั้งในช่วงก่อน-หลัง และระหว่างที่อยู่ในอวกาศ ซึ่งต่างกับผู้บำบัดโรคมะเร็งที่มักได้รับคำแนะนำจากแพทย์ให้พักผ่อนมาก ๆ ทั้งก่อนและหลังการบำบัด งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่า จริง ๆ แล้ว การที่ผู้รับการบำบัดมะเร็งขาดการออกกำลังกายนั้นอาจจะกลายเป็นผลเสียได้ และมีผู้ป่วยจำนวนมากที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากผลข้างเคียงในระยะยาวของการบำบัดมะเร็ง มากกว่าตัวเซลล์มะเร็งเอง ดังนั้น นักวิจัยจึงแนะนำว่าผู้บำบัดมะเร็งควรออกกำลังกายในแบบเดียวกับโปรแกรมที่นาซ่านำมาใช้กับนักบินอวกาศ ทั้งในช่วงที่เตรียมเข้ารับการบำบัดและหลังจากการบำบัดแล้ว เพื่อลดผลข้างเคียงจากการบำบัดนั้นในระยะยาว อย่างไรก็ตาม นักวิจัยแนะนำให้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อตรวจดูผลกระทบที่แท้จริงจากการออกกำลังกายดังกล่าว ซึ่งหากวิธีนี้ใช้ได้ผลจริงก็จะสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการรักษาเยียวยาผู้ป่วยมะเร็งได้ในอนาคต และนั่นหมายถึงการช่วยชีวิตผู้คนทั่วโลกได้หลายล้านคนต่อปี Voice of America 20.11.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร