Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

การออกแบบทารก” ไม่ไกลเกินฝัน ฝ่ายสนับสนุนชี้ “สองปี” มีลุ้น   

ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพมีการพัฒนามาโดยตลอด การปรับแต่งพันธุกรรมในทารกเพื่อหลีกเลี่ยงโรคร้ายกำลังเป็นที่ถกเถียง สังคมพร้อมหรือยังที่จะเปิดกว้างในเรื่องนี้ บ้างก็เชื่อว่าในสองปีข้างหน้า นี่อาจเป็นวิทยาการสำคัญ ที่ขับเคลื่อนอายุของมนุษย์ให้ยืนยาวยิ่งขึ้น สำนักข่าว CNN อ้างอิงข้อมูลจากวารสารด้านวิทยาศาสตร์ ระบุการปรับแต่งพันธุกรรมในทารกเพื่อป้องกันโรคซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการอย่างมาก อาจมีความชอบธรรมในด้านจริยธรรมในอีกสองปีข้างหน้า วารสาร Bioethics ได้ลงบทความของ เควิน สมิธ นักชีวจริยธรรม (Bioethicist) จากมหาวิทยาลัย Abertay ประเทศสก็อตแลนด์ ที่อธิบายว่าปัจจุบันการปรับแต่งพันธุกรรมมีความเสี่ยงที่ค่อนข้างต่ำ และสามารถทำได้ในระดับตัวอ่อน ซึ่งวิธีนี้จะช่วยป้องกันการถ่ายทอดโรคทางพันธุกรรม อย่างไรก็ดี มีข้อกังวลว่าวิธีดังกล่าว อาจจะนำไปสู่การ “ออกแบบทารก” ที่เป็นมากกว่าแค่การปรับแต่งพันธุกรรมเพื่อป้องกันโรค นายสมิธชี้ว่าจุดนี้ สามารถหาเหตุผลมาอธิบายเชิงจริยธรรมได้ และนี่จะเป็นความหวังของบรรดาคุณพ่อคุณแม่ ที่ต้องการยับยั้งโรคร้ายไม่ให้ส่งผ่านไปยังลูกของพวกเขา ยกตัวอย่างเช่นในเดือนพฤศจิกายนปี พ.ศ. 2561 นักวิทยาศาสตร์จีน เหอ เจียกุย ได้ออกมาประกาศว่าเขาได้ปรับแต่งพันธุกรรมทารกคนแรกของโลกในตัวอ่อนเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันต้านเชื้อไวรัสเอชไอวี นายสมิธมองว่า การปรับแต่งพันธุกรรมในระดับตัวอ่อนคือ “ทางเดียวที่เป็นไปได้” จากมุมมองที่เน้นประโยชน์ทางปฏิบัติในการจัดการกับหลายๆ โรคที่ส่งต่อทางพันธุกรรม โดยวิธีนี้จะช่วยให้เราป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ภาวะสมองเสื่อม และอีกหลายอาการเจ็บป่วย เขายังกล่าวว่า “ถ้าปรับแต่งพันธุกรรมแล้ว เราจะหลีกเลี่ยงหรือชะลออาการจากโรคต่างๆ ได้ ชีวิตของมนุษย์ที่ปราศจากโรคก็จะยืนยาวมากยิ่งขึ้น” อย่างไรก็ดีนายสมิธเห็นว่ายังมีแรงต้านจากสังคมในประเด็นดังกล่าว จึงควรชะลอโครงการออกไปก่อน มีผู้เชี่ยวชาญในแวดวงพันธุศาสตร์หลายคน เห็นว่าวิทยาการนี้ มีความเสี่ยง และยังอยู่ในช่วงการศึกษาเท่านั้น จอยซ์ ฮาร์เปอร์ จากมหาวิทยาลัย University College London คณะสุขภาพสตรี ได้แสดงความเห็นผ่านศูนย์ Science Media Centre หรือ SMC ระบุว่า “ยังไม่มีการทดลองที่มากพอที่จะพิสูจน์ว่าเทคโนโลยีดังกล่าวมีความปลอดภัย” แม้ตัวเธอเองจะเห็นว่าการปรับแต่งพันธุกรรมเป็นกระบวนการที่มีศักยภาพมาก แต่เธอต้องการให้เกิดการถกเถียงในสังคม และฝ่ายกฎหมายต้องทบทวนเรื่องนี้อย่างถี่ถ้วนเพื่อสร้างความมั่นใจ เช่นเดียวกับ ซาร่า นอร์ครอส ผู้อำนวยการองค์กร Progress Educational Trust ที่ทำหน้าที่ให้ความรู้กับสังคมในด้านพันธุศาสตร์ มองว่าการวิเคราะห์เชิงบวกต่อการปรับแต่งพันธุกรรมของนายสมิธยังมีข้อกังขา เธอบอกกับ SMC ว่า “ถ้าเทคโนโลยีดังกล่าวจะถูกนำมาใช้ในอนาคต จำเป็นต้องยกระดับมาตรฐานด้านวิทยาศาสตร์และจริยธรรมให้สูงมากยิ่งขึ้น” เธอชี้ว่ายังต้องใช้เวลาเพื่อศึกษาความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์นี้ นอร์ครอสบอกว่าเราควรที่จะเรียนรู้จากความผิดพลาดของนักวิทยาศาสตร์ในประเทศจีนที่ทำการปรับแต่งพันธุกรรมทารกคนแรกของโลกในปีที่ผ่านมา ผู้ดูแลกฏหมายจีนระบุชัด นี่เป็นการกระทำที่ขัดต่อกฏหมาย ทำให้นักวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องต้องตกในสถานะที่มีปัญหา ในเดือนตุลาคมที่ผ่านมา นักวิจัยจากสถาบันด้านชีวการแพทย์และพันธุศาสตร์จาก The Broad of MIT and Harvard ได้เผยแพร่ข้อมูลที่ว่า วิทยาการปรับแต่งพันธุกรรมเป็นวิธีหนึ่งมีศักยภาพที่จะช่วยลดความบกพร่องระดับจีนส์ได้มากถึง 89% ซึ่งรวมถึงโรคที่ผิดปกติแต่กำเนิดอย่างเช่น โรคโลหิตจางชนิด sickle cell anemia เป็นต้น Voice of America 2.12.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร