Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ไอยูซีเอ็น เตือนโลกร้อน! ทำให้มหาสมุทรขาดออกซิเจน  

นักวิจัยเผยปริมาณออกซิเจนในทะเลต่ำลง เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหานี้กำลังเกิดขึ้นกับมหาสมุทร เมื่อออกซิเจนในท้องทะเลกำลังหมดลง เหตุภาวะโลกร้อนและการปนเปื้อนของสารเคมีจากภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมเนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ กำลังทำให้ออกซิเจนหายไปจากมหาสมุทรและคุกคามชีวิตของสัตว์ทะเลหลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์น้ำขนาดใหญ่กำลังขาดอากาศหายใจ ปัจจุบัน พื้นที่มหาสมุทรประมาณ 700 แห่ง มีปริมาณออกซิเจนอยู่ในระดับต่ำจนอันตราย เมื่อเทียบกับอีก 45 แห่งในช่วงทศวรรษ 1960 ซึ่งนักวิจัยระบุว่า การสูญเสียออกซิเจนในทะเลนี้ เป็นภัยคุกคามต่อสัตว์ทะเลหลายสปีชีส์ โดยเฉพาะสัตว์ทะเลขนาดใหญ่ เช่น ฉลาม ปลาทูน่า และปลากระโทงทั้งหลาย เกรเทล อากิลา (Grethel Aguilar) รักษาการผู้อำนวยการของสหภาพระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (The International Union for the Conservation of Nature - IUCN) กล่าวในงานประชุม COP25 ว่า สุขภาพของมหาสมุทรควรเป็นข้อพิจารณาที่สำคัญในการประชุมครั้งนี้ เพราะอุณหภูมิน้ำทะเลที่สูงขึ้น ทำให้ออกซิเจนขาดแคลนอย่างหนัก ทั้งยังส่งผลให้ความสมดุลอันเปราะบางของสัตว์น้ำเกิดความยุ่งเหยิงอีกด้วย ภาวะโลกร้อนทำให้อุณหภูมิของน้ำทะเลสูงขึ้น ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนต่ำลง ซึ่งตอนนี้ มหาสมุทรจะสูญเสียปริมาณออกซิเจนไปอีก 3-4% ภายในปี ค.ศ.2100 และจะเกิดผลกระทบต่อระดับน้ำทะเลที่ 1,000 เมตรจากผิวน้ำ ซึ่งเป็นระดับที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงสุด รวมถึงแนวทะเลที่อยู่บริเวณกลางเส้นละติจูดถึงเหนือขึ้นไป ระดับออกซิเจนที่ลดต่ำลง ทำให้ปลาทั้งหลายต้องอพยพไปยังผิวน้ำและพื้นที่ทะเลตื้น ซึ่งยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการถูกจับปลาโดยชาวประมงมากขึ้น ขณะเดียวกัน บางพื้นที่ที่มีระดับออกซิเจนต่ำว่าจุดอื่นอยู่แล้ว แต่เมื่อออกซิเจนลดลง ก็อาจจะเพิ่มความเสียหายให้เกิดขึ้นกับพื้นที่ดังกล่าวหนักขึ้นไปอีก ตามข้อมูลของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change - IPCC) รายงานว่า ทั้งการทำประมงเกินขนาด ขยะพลาสติกในทะเล ต่างก็เป็นปัญหาใหญ่สำหรับมหาสมุทรทั่วโลก ตอนนี้ ทะเลมีสภาพเป็นกรดมากกว่าในช่วงก่อนอุตสาหกรรมประมาณ 26% เนื่องจากดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนเกินในชั้นบรรยากาศ “เพื่อหยุดยั้งการขยายตัวของพื้นที่ที่ขาดแคลนออกซิเจน เราต้องควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเด็ดขาด เช่นเดียวกับการควบคุมมลภาวะจากธาตุอาหารพืช (Nutrient pollution) ที่มาจากการทำเกษตรกรรมและแหล่งอื่นๆ” แดน ลาฟฟอรี (Dan Laffoley) หนึ่งในผู้เขียนรายงานจาก IUCN กล่าว Manager online 9.12.12

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร