Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

วว.แลกเปลี่ยนความรู้ "กัญชา" เพื่อการแพทย์กับผู้เชี่ยวชาญเนเธอร์แลนด์  

วว.จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู้กับ GH Medical บริษัทธุรกิจกัญชาจากเนเธอร์แลนด์ สู่เป้าหมายนำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์การแพทย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมกับบริษัท GH Medical ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดงานสัมมนาวิชาการ “The International Cannabis-based Medicine Industry 2019” ในวันที่ 19 ธ.ค.62 ณ ห้องประชุมชั้น 5 อาคาร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เทคโนธานี อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เพื่อแถลงบทบาทองค์กรด้านการวิจัยพัฒนา “กัญชง-กัญชา” และแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ และส่งเสริมความเข้าใจ ให้ทราบถึงความก้าวหน้าทางการวิจัย รวมถึงประโยชน์จากการในการนำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์การแพทย์ ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า ปัจจุบันการนำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์การแพทย์ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายทั่วโลก ดังนั้นเพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้เพื่อส่งเสริมความเข้าใจ และทราบถึงความก้าวหน้าทางการวิจัย รวมถึงประโยชน์จากการในการนำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์การแพทย์ ซึ่งจะเป็นการสร้างเครือข่ายจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน หน่วยงานด้านการศึกษาและหน่วยวิจัยต่างๆ ทั้งในประเทศและในระดับสากล วว.จึงได้ร่วมกับบริษัท GH Medical ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการนำกัญชาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์อันดับต้นๆ ของโลก เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ และส่งเสริมความเข้าใจ ให้ทราบถึงความก้าวหน้าทางการวิจัย รวมถึงประโยชน์จากการในการนำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์การแพทย์ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับเงื่อนไขและข้อห้ามในประเทศต่างๆ รวมถึงข้อคิดเห็นในการนำกัญชามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ในประเทศไทย ผู้ว่าการ วว. กล่าวถึงบทบาทองค์กรด้านการวิจัยพัฒนา “กัญชง-กัญชา” ว่า วว.เป็นหน่วยงานวิจัยชั้นนำในการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน มีองค์ความรู้ครบวงจรที่พร้อมวิจัยและพัฒนาต่อยอดการใช้ประโยชน์ของสมุนไพร ในด้านนำมาใช้กับกัญชา ทางองค์กรมีความพร้อมที่ครอบครุมในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านความเชี่ยวชาญของบุคลากรและอุปกรณ์เครื่องมือในการดำเนินงาน วว.ได้แบ่งการวิจัยเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้ 1."ด้านการเพาะปลูก" ได้แก่ วิจัยและส่งเสริมการปลูก และการปรับปรุงพันธุ์ ให้ได้สายพันธุ์กัญชาที่มีคุณภาพ 2.ด้านการสกัดและวิเคราะห์สารสำคัญ ได้แก่ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านสกัดสารสำคัญจากกัญชา เนื่องจากน้ำมันกัญชาที่สกัดจะมีสารประกอบที่เจือปนด้วยโลหะหนัก หากไม่มีการสกัดที่ถูกวิธีและนำไปให้ก็อาจเกิดอันตรายได้ และ 3.ด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มมูลค่าในรูปแบบเวชสำอาง เพราะสารสกัดกัญชาสามารถรักษาโรคผิวหนังได้ การผลิตภัณฑ์อาหารเสริมให้ได้เป็นที่ยอมรับของตลาด และทางองค์กรหวังเป็นอย่างยิ่งว่าองค์ความรู้ของการวิจัยดังกล่าวและแขนงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จะช่วยส่งเสริม ขับเคลื่อนการเพิ่มมูลค่าของสมุนไพรไทยสู่ตลาดโลกในอนาคต ทั้งนี้ การสัมมนาดังกล่าวครอบคลุมข้อมูลพื้นฐาน ประวัติความเป็นมา กฎระเบียบสากล และกรอบแนวคิดของข้อกฎหมายของการนำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์การแพทย์ โดยวิทยากรจากบริษัท GH Medical ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับเงื่อนไขและข้อห้ามในประเทศต่างๆ เช่น สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ สาธารณรัฐคองโก และสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล รวมถึงข้อคิดเห็นในการนำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์การแพทย์ในประเทศไทย และการบรรยายเกี่ยวกับการใช้ Artificial Intelligence (AI) และ blockchain technology ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมกัญชา Manager online 19.12.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร