Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

มว.- สตช.หนุนระบบมาตรวิทยาเพื่อบังคับใช้กฏหมาย “เมาแล้วขับ”  

มว. จับมือ สตช. จัดพิธีแถลงข่าว “โครงการเพิ่มศักยภาพการบังคับใช้กฎหมาย “เมาแล้วขับ” ด้วยระบบมาตรวิทยา” เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของพันธกิจไปสู่ภาคสังคม เพื่อสร้างความมั่นใจ ในเทคนิคและกระบวนการการตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ตลอดจนการนำผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้เป็นข้อบังคับทางด้านกฎหมาย สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (มว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) จัดพิธีแถลงข่าว “โครงการเพิ่มศักยภาพการบังคับใช้กฎหมาย “เมาแล้วขับ” ด้วยระบบมาตรวิทยา” พร้อมส่งมอบวัสดุอ้างอิงประเภทก๊าซแอลกอฮอล์มาตรฐานที่ใช้ในการสอบเทียบ เครื่องมือวัดปริมาณแอลกอฮอล์ ผลิตโดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติพร้อมอุปกรณ์ ให้แก่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในวันที่ 19 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชุมแสงสิงแก้ว ชั้น 2 กองบังคับการตำรวจราจร (บก.จร.) ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ ปัจจุบันประเทศไทย มีอัตราการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ จากอุบัติเหตุทางท้องถนนโดยมีสาเหตุหลักจากการเมาแล้วขับ เนื่องจากปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดมีผลทำให้ประสิทธิภาพในการควบคุมยานพาหนะลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งที่ประเทศไทยมีการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับที่ 16 พ.ศ. 2537 ออกตามความใน พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ข้อ 1 (1) การทดสอบผู้ขับขี่ว่าเมาสุราหรือไม่ ให้ใช้เครื่องตรวจวัด ระดับแอลกอฮอล์ในเลือด โดยวิธีเป่าลมหายใจ (Breath Analyzer Test) ถ้ามีปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา ซึ่งกฎหมายดังกล่าวนำมาใช้ปฏิบัติแล้วเป็นเวลากว่า 24 ปี แต่อัตรา การเสียชีวิตจากการเมาแล้วขับยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุสำคัญอีกประการหนึ่งที่ไม่สามารถควบคุมอัตราการสูญเสียจากการเมาแล้วขับได้ถึงแม้จะมีการประกาศใช้กฎหมาย คือ ผู้บังคับใช้กฎหมายไม่สามารถบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและปฏิเสธไม่ได้ว่าความ น่าเชื่อถือของค่าการวัดจากเครื่องมือที่อ่านได้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผู้บังคับใช้กฎหมายไม่มั่นใจในการจับกุมที่ อาจจะนำมาซึ่งข้อพิพาทในกรณีผลการตรวจวัดที่ไม่ถูกต้องตามหลักการ ดังนั้นหากผู้บังคับใช้กฎหมายมีความ เข้าใจในการใช้เครื่องมือและการดูแลรักษาเครื่องตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดโดยวิธีเป่าลมหายใจ รวมถึงเครื่องมือได้รับการสอบเทียบตามหลักการทางมาตรวิทยาแล้ว จะส่งผลให้ผู้บังคับใช้กฎหมาย ณ จุดตรวจวัดปริมาณระดับแอลกอฮอล์ในเลือด สามารถบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวได้อย่างจริงจัง ทำให้จำนวนผู้ขับขี่ที่เมาสุราบนท้องถนนลดลง ด้วยเหตุนี้ มว.ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลระบบการวัดของชาติให้มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ได้มีแนวคิดริเริ่มโครงการบูรณาการร่วมกับ สตช.ในการจัดทำ “โครงการเพิ่มศักยภาพการบังคับใช้กฎหมาย “เมาแล้วขับ” ด้วยระบบมาตร วิทยา” เพื่อวิจัยและพัฒนาวัสดุอ้างอิง (TRM) สำหรับใช้ทวนสอบเครื่องเป่าแอลกอฮอล์ให้สามารถวัดค่าได้ ถูกต้องในการใช้งาน รวมถึงจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องให้สามารถใช้งาน และดูแลเครื่องมือวัดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นไปตามมาตรฐาน การจัดทำโครงการดังกล่าวจะก่อให้เกิดความมั่นใจในการใช้เครื่องวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดด้วยวิธีเป่าลมหายใจที่จะนำมา บังคับใช้กับประชาชนว่าจะให้ผลการตรวจวัดที่มีความเที่ยงตรงและแม่นยำขณะใช้งาน เนื่องจากมีการสอบกลับได้ทางการวัด (Measurement Traceability) ที่อ้างอิงหน่วย SI ที่นานาชาติยอมรับ ตลอดจนสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายและการอำนวยความยุติธรรมของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยมีการส่งมอบนวัตกรรมวัสดุอ้างอิงประเภทก๊าซแอลกอฮอล์มาตรฐานที่ใช้ในการสอบเทียบเครื่องมือวัดปริมาณแอลกอฮอล์ ผลิตโดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติและพร้อมใช้งานได้ทันที โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลที่ใกล้จะถึงนี้ Manager online 19.12.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร