Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อังกฤษยกนักวิทย์ฯ จีน ถอดรหัสตัดต่อยีนสู้เอชไอวี หนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลวิทยาศาสตร์ 2019  

ไชน่าเดลี (19 ธ.ค.) วารสารวิทยาศาสตร์ของอังกฤษ Nature ได้เลือก ศาสตราจารย์เติ้ง หงขุย (邓宏魁) แห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่งเป็นหนึ่งใน 10 ผู้ทรงอิทธิพลมากที่สุดทางวิทยาศาสตร์ในปี 2019 เนื่องจากเขามีส่วนร่วมในการถอดรหัสตัดต่อยีนเพื่อต่อสู้กับเชื้อเอชไอวี Nature กล่าวถึงเติ้งในฐานะนักถอดรหัสยีน CRISPR - "นักวิทยาศาสตร์จีนแสดงให้เห็นว่า การแก้ไขยีน CRISPR สามารถทำได้อย่างปลอดภัยในผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อเอชไอวี" บทความฯ ยังบรรยายการทดลองทางคลินิกของเติ้งและทีมของเขา รวมทั้งผลการวิจัยฯ เพื่อสรุปความสำเร็จของผู้ป่วยชาวเบอร์ลินรายหนึ่งประสบความสำเร็จในการกำจัดไวรัสเอชไอวี หลังจากการปลูกถ่ายไขกระดูกในปี 2551 ทีมของเติ้งจึงใช้วิธีการแก้ไขยีนเพื่อสร้าง CCR5 ซึ่งเป็นโปรตีนที่เอชไอวีใช้ในกระบวนการแพร่กระจายติดเชื้อ ทำลายเซลล์ภูมิคุ้มกัน “เขาจับเซลล์ต้นกำเนิดจากเลือดที่สร้างภูมิคุ้มกันจากไขกระดูกของผู้บริจาค แก้ไขด้วย CRISPR-Cas9 แล้วปลูกถ่ายให้คนที่เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวและติดเชื้อเอชไอวี” บทความกล่าว ทั้งนี้เพื่อคำนึงถึงความปลอดภัยและความยากในการแก้ไขเซลล์ ขั้นตอนแรกจึงจำกัดใช้เซลล์ที่ถูกดัดแปลงแล้วประมาณ 18 เปอร์เซ็นต์ในการปลูกถ่ายฯ ซึ่งประมาณสองปีต่อมา การติดเชื้อเอชไอวี ของผู้ป่วยยังคงอยู่และเซลล์ที่ถูกแก้ไขบางส่วนยังคงอยู่ในเลือดของผู้ป่วยในปัจจุบัน กระทั่งล่าสุด เมื่อวันที่ 12 กันยายน วารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ ซึ่งเป็นวารสารทางการแพทย์รายสัปดาห์ ได้รับรายงานผลความสำเร็จของเติ้งและทีมของเขาว่าการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดยีนที่แก้ไขแล้วนั้น เป็นผลดีกับคนที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวและเอชไอวี เติ้งกล่าวในเดือนกันยายนว่า ขั้นตอนแรกของการทดลองแสดงให้เห็นว่าเซลล์ที่ถูกแก้ไขสามารถคงอยู่และปลอดภัยในเลือดของผู้คน “คณะแพทย์ผู้วิจัยฯ จะปรับปรุงประสิทธิภาพของการแก้ไขยีนและปรับแผนการรักษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการรักษา” เขากล่าว สำหรับนักวิทยาศาสตร์ท่านอื่นๆ ที่วารสาร Nature ยกให้เป็นผู้ทรงอิทธิพลทางวิทยาศาสตร์ในปีนี้ ได้แก่ ริคาร์โด กัลเฟา (RICARDO GALVÃO): นักฟิสิกส์กลายเป็นวีรบุรุษของชาติ ผู้เผชิญวิกฤติในอเมซอน โดยการท้าทายรัฐบาลของบราซิล วิคตอเรีย แคสพี (VICTORIA KASPI): นักสืบท้องฟ้า นักดาราศาสตร์ฟิสิกส์ ผู้ไล่ล่าคลื่นวิทยุที่ลึกลับเหมือนคลื่นแรงระเบิดด้วยกล้องวิทยุโทรทรรศน์ เนแนด เซสแทน (NENAD SESTAN): นักประสาทวิทยาฟื้นฟูสมอง ที่ท้าทายคำจำกัดความของชีวิตและความตาย ซานดร้า ดีแอซ (SANDRA DÍAZ): ผู้พิทักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ นักนิเวศวิทยาและเพื่อนร่วมงาน ซึ่งประเมินระบบนิเวศของโลกและเรียกร้องให้ดำเนินการอย่างจริงจัง ฌอง-ฌาร์คส มูเยมเบ (JEAN-JACQUES MUYEMBE TAMFUM): นักสู้กับโรคอีโบล่า Ebola ผู้ร่วมค้นพบของเชื้ออีโบลา กับการต่อสู้ครั้งยากที่สุดกับไวรัสในประเทศคองโก โยฮานเนสส เฮล-เซลาสซี่ (YOHANNES HAILE-SELASSIE): นักบรรพชีวินวิทยา ผู้ค้นหาแหล่งกำเนิดตระกูลมนุษย์ด้วยการค้นพบกะโหลกศีรษะอายุ 3.8 ล้านปีที่เก็บรักษาไว้อย่างน่าทึ่ง โรเจอร์ส เวนดี้ (WENDY ROGERS) : นักจริยธรรมปลูกถ่าย นักวิชาการเปิดเผยความล้มเหลวทางจริยธรรมในการศึกษาของจีนเกี่ยวกับการปลูกถ่ายอวัยวะ จอห์น มาร์ตินิส (JOHN MARTINIS): ผู้สร้างควอนตัม นักฟิสิกส์ผู้นำการสาธิตครั้งแรกของคอมพิวเตอร์ควอนตัม Google ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป เกรต้า ธุนเบิร์ก (GRETA THUNBERG): วัยรุ่นชาวสวีเดน ผู้เร่งปฏิกิริยาปกป้องสภาพภูมิอากาศ Manager online 22.12.19

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร