Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แพทย์อเมริกันแนะแนวทางใหม่ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล   

การศึกษาฉบับใหม่ระบุว่า การเปลี่ยนแปลงคำแนะนำด้านสุขภาพอาจนำไปสู่การลดระดับคอเลสเตอรอล และช่วยให้ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคหัวใจได้รับการรักษาได้ดียิ่งขึ้น โรคหัวใจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของโลก และคอเลสเตอรอลในระดับที่สูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคนี้ โดยที่ผ่านมา แพทย์ให้การรักษาผู้ป่วยโดยดูที่ระดับคอเลสเตอรอลตัวร้าย หรือที่เรียกว่า LDL ในปีพ.ศ. 2556 แนวทางปฏิบัติใหม่ในสหรัฐฯ แนะให้แพทย์ตรวจสอบความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจโดยรวม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง แนวทางปฏิบัตินี้แนะนำให้แพทย์พิจารณาอายุ ความดันโลหิต อาการของโรคเบาหวาน และปัจจัยอื่น ๆ ของผู้ป่วย แนวคิดของแนวทางปฏิบัตินี้ก็คือ ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงสุดจะได้รับประโยชน์สูงที่สุดจากยาลดคอเลสเตอรอล “สเตติน” นักวิจัยได้ศึกษาข้อมูลจากศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC) ข้อมูลดังกล่าวนี้มีผลการวัดระดับคอเลสเตอรอลจากผู้ใหญ่มากกว่า 32,000 คน ในช่วงระหว่างปีพ.ศ. 2548 ถึงพ.ศ. 2559 ในกลุ่มคนที่ทานยาสเตติน ระดับคอเลสเตอรอลตัวร้ายโดยเฉลี่ยลดลง 21 จุดตลอดระยะเวลาที่ทำการศึกษา นอกจากนี้ระดับคอเลสเตอรอลโดยรวมและไขมันชนิดอื่น ๆ ในเลือดก็ลดลงด้วยเช่นเดียวกัน นายแพทย์ Michael Miller เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจที่ศูนย์การแพทย์ของมหาวิทยาลัยแมรี่แลนด์ ซึ่งไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษานี้ กล่าวว่า ผลลัพธ์ดังกล่าวนั้นดีมากจนน่าประหลาดใจ โดยรวมกันแล้วคาดว่าความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจและอาการเส้นเลือดอุดตันในสมองจะลดลง 15% ถึง 20% นอกจากนี้อัตราการใช้ยา “สเตติน” ของผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานยังมีเพิ่มมากขึ้น นายแพทย์ Neil J. Stone จากมหาวิทยาลัยนอร์ธเวสเทิร์น ซึ่งเป็นหัวหน้าในการพัฒนาแนวทางปฏิบัติปี พ.ศ. 2556 จากสมาคม American College of Cardiology และ American Heart Association กล่าวว่า การป้องกันไม่ให้ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานมีอาการหัวใจวายเป็นครั้งแรกนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญมาก นายแพทย์ Pankaj Arora จากมหาวิทยาลัยรัฐแอละบามา วิทยาเขตเบอร์มิงแฮม หัวหน้าการศึกษาวิจัยนี้ กล่าวว่า ยังต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องดังกล่าว ด้านนายแพทย์ Arora จากมหาวิทยาลัยแอละบามา เตือนว่า ยังไม่พบว่ามีการรักษาเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงกลุ่มอื่น ๆ และว่ายังมีอีกหลายคนที่ไม่ทราบว่าตัวเองมีปัญหาในเรื่องระดับคอเลสเตอรอล ซึ่งคำแนะนำสำหรับผู้ป่วยเหล่านี้ก็คือ ควรไปตรวจวัดระดับคอเลสเตอรอลหากยังไม่ได้ตรวจวัดในระยะนี้ Voice of America 1.01.20

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร